Page 8 -
P. 8

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
               กนกพร  นุ่มทอง

               ตําราการแปลภาษาไทยเป็นภาษาจีน




               ชํานาญขึ้นเอง  แมทัศนะเชนนี้จะมีสวนถูก  แตในความเปนจริงแลว  ทฤษฎีการแปลก็มิไดเปนสิ่งที่หางไกล

               จากการปฏิบัติจริง  หากแตเปนหลักการที่นักแปลและผูศึกษาการแปลในอดีตวิเคราะหและสรุปมาจากการ

               ปฏิบัติจริง  ทฤษฎีกําเนิดจากการปฏิบัติ  และยอนกลับมาชี้นําการปฏิบัติ  การศึกษาทฤษฎีการแปลควบคู

               ไปกับการศึกษาเทคนิคและการฝกปฏิบัติ  จะชวยลดเวลาในการพัฒนาความสามารถในการแปล  และทํา
               ใหปฏิบัติการแปลไดมีประสิทธิภาพมากขึ้น  อยางไรก็ดี  ตําราเลมนี้เปนเพียงตําราสําหรับผูเริ่มฝกปฏิบัติ

               แปลภาษาไทยเปนภาษาจีน  มิใชตําราสําหรับผูศึกษาดานการแปล  จึงกลาวถึงทฤษฎีไวเพียงสังเขป  เพื่อ

               พอเปนแนวทางในการปฏิบัติจริงเทานั้น


                       การแปลคืออะไร


                       การแปลคืออะไรเปนปญหาที่ดูเสมือนงายแตก็ซับซอน    ที่วางายนั้นเพราะการแปลเปนสิ่งที่เกิด

               ขึ้นมาเนิ่นนาน   เรียกไดวาตั้งแตมนุษยที่ใชคนละภาษาตองการสื่อสารกัน   โดยมีตัวกลางที่รูทั้งสองภาษา
               แตที่วาซับซอนก็เพราะการใหคําจํากัดความนั้นมองไดจากหลายมุมมอง ทั้งจากมุมมองของภาษา  มุมมอง

               ของวัฒนธรรม  มุมมองของการสื่อสาร  มุมมองของตนฉบับ  มุมมองของผูรับสาร  ฯลฯ

                       ศาสตรแหงการแปลทางตะวันตกเจริญกาวหนามาก    มีผูเสนอคําจํากัดความของการแปลไวมาก

               และมีการถกกันอยางกวางขวาง  มีอิทธิพลกับการแปลภาษาตางๆ  ในยุคปจจุบันทั่วโลก  ที่นาสนใจไดแก

               คําจํากัดความของนักทฤษฎีการแปลชาวตะวันตกที่มีความสําคัญสองทาน  คือ  ยูจีน ไนดา  และปเตอร
               นิวมารก

                       ยูจีน ไนดา  นักทฤษฎีการแปลชาวอเมริกันกลาวไวใน  The    Theory    and    Practice    of

               Translation  วา


                              “Translating  consists  in  reproducing  in  the  receptor  language  the  closest

                       natural  equivalent  of  the  source-language  message,  first  in  terms  of  meaning  and

                       secondly  in  terms  of  style.” (Nida and Taber, 1982: 12)


                       ไนดาเห็นวา  การแปลเปนเรื่องของการถายทอดความหมายและการถายทอดรูปแบบของการเสนอ

               ความหมายของขอความในภาษาหนึ่งเปนอีกภาษาหนึ่ง  โดยการถายทอดความหมายมากอน  การ

               ถายทอดรูปแบบการเสนอความหมายมาเปนลําดับสอง  คําสําคัญในคําจํากัดความขางตน  ไดแก

               closest,  natural,  message  และ  meaning

                       ปเตอร นิวมารก  นักทฤษฎีการแปลชาวอังกฤษ  ใหคําจํากัดความของการแปลไวดังนี้









                                                            ๒
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13