Page 3 -
P. 3

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
                                                                                                            กนกพร  นุ่มทอง

                                                                              ตําราการแปลภาษาไทยเป็นภาษาจีน





                                                              คํานํา



                        วิชาการแปลภาษาไทยเปนภาษาจีน  เปนรายวิชาบังคับในหลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต

                สาขาวิชาภาษาจีน  คณะมนุษยศาสตร  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร  กําหนดใหนิสิตเรียนในปที่  ๔  ภาค

                การศึกษาที่  ๒  อันเปนภาคการศึกษาสุดทาย  ซึ่งนิสิตไดผานการศึกษาวิชาไวยากรณจีนและวิชาการ

                แปลภาษาจีนเปนภาษาไทยมาแลว  จุดประสงคหลักของรายวิชาคือ  เพื่อใหนิสิตเขาใจหลักและเทคนิคขั้น

                พื้นฐานในการแปลภาษาไทยเปนภาษาจีน  นอกจากนั้นยังเปนการใหนิสิตไดเพิ่มพูนวงศัพทและความรู
                โดยผานการฝกปฏิบัติการแปลทั้งในและนอกหองเรียน  ทั้งในรูปแบบการแปลขอเขียนและการแปลปาก

                เปลา

                        ตํารา  การแปลภาษาไทยเปนภาษาจีน  เลมนี้  พัฒนามาจากเอกสารคําสอนที่ใชในรายวิชา

                ดังกลาว  มีเนื้อหาสาระครอบคลุมรายวิชาทั้งในภาคทฤษฎีและปฏิบัติ  นอกจากนั้นยังมีคําอธิบายการแปล
                เพื่อใหผูสนใจทั่วไปสามารถอานเขาใจในสาระของตํารานี้  แมจะไมไดเขารวมชั้นเรียนวิชาการแปลภาษา

                ไทยเปนภาษาจีนก็ตาม  ในการอธิบาย  ผูเขียนพยายามใชภาษาที่เขาใจงาย  เนื่องจากตองการใหเปน

                ตําราที่ไมหนักจนเกินไปนักสําหรับนิสิตปริญญาตรีและผูสนใจทั่วไปซึ่งสวนใหญนาจะอยูในวัยที่เทคโนโลยี

                สมัยใหมเจริญกาวหนาเสียจนดึงความสนใจจากการอานหนังสือไปเสียมาก  และเนื่องจากเปนรายวิชา
                ระดับปริญญาตรี  จึงเปนเพียงตําราระดับเบื้องตน  เพื่อปูพื้นฐานไปสูการศึกษาในระดับสูงตอไป  มิใช

                ตําราการแปลระดับมืออาชีพ

                        ในการเรียนการสอนวิชาการแปลภาษาไทยเปนภาษาจีนของสาขาวิชาภาษาจีน  ภาควิชา

                ภาษาตางประเทศ  คณะมนุษยศาสตร  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร  ผูสอนใชระบบการสอนแบบเนน

                ผูเรียนเปนศูนยกลาง  ผูเรียนเปนผูลงมือปฏิบัติกอน  ผูสอนตรวจผลงานของผูเรียนแลวนํามาแสดงใหทั้ง
                ชั้นเรียนเห็นดวยเครื่องฉายภาพสามมิติ  ผูเรียนทั้งชั้นเรียนชวยกันอภิปรายแสดงความคิดเห็น  ผูสอนทํา

                หนาที่ใหคําแนะนํา  แกไขขอบกพรอง  อธิบายและสาธิตวิธีการแปลที่ถูกตอง  จากนั้นใหผูเรียนกลับไปแปล

                ซ้ําและนํามาสงใหมเพื่อใหซึมซับวิธีการแปลที่ถูกตอง  ประโยคตัวอยางและบทความภาษาไทยที่นํามาให

                แปลเนนภาษาที่ใชงานจริง  จึงคัดมาจากแหลงตางๆ  ที่หลากหลาย  หากสามารถระบุแหลงที่มาไดจะระบุ
                ไวใหชัดเจน สวนที่ไมไดระบุแหลงที่มาซึ่งมีจํานวนมากกวานั้นมีทั้งสวนที่ผูเขียนแตงขึ้นเอง  และสวนที่คัด

                มาจากแหลงตางๆ  สวนที่ผูเขียนแตงขึ้นเองไดเลือกใชภาษาที่มีสีสันเพื่อกระตุนใหนิสิตสนใจในการเรียน

                สวนที่คัดมาจากแหลงตางๆ  จําเปนตองละเวนการระบุแหลงที่มาตลอดจนแกไขชื่อเฉพาะ  เพราะเปน

                ขอมูลซึ่งควรระมัดระวังการเผยแพรในตําราเรียน  แตในการเรียนการสอนจริงนั้น  นิสิตจะไดฝกปฏิบัติจาก
                ของจริงโดยไมมีการตัดทอนแตอยางใด







                                                             I
   1   2   3   4   5   6   7   8