Page 7 -
P. 7

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
                                                                                                            กนกพร  นุ่มทอง

                                                                              ตําราการแปลภาษาไทยเป็นภาษาจีน




                                                           บทที่  ๑

                                               ความรูทั่วไปเกี่ยวกับการแปล




                       เหตุใดจึงตองเรียนการแปลภาษาไทยเปนภาษาจีน


                       สัญฉวี  สายบัว  ไดกลาวไวใน  หลักการแปล    วา  นักแปลในอุดมคติคือ  นักแปลที่มี

               ความสามารถในการใชภาษาตนฉบับ  และภาษาฉบับแปลไดดีในระดับเดียวกับภาษาแม  แตหลักนี้ยาก

               จะนําไปปฏิบัติจริงและนักแปลสวนใหญในปจจุบันก็มิไดมีคุณสมบัติถึงระดับดังกลาว  สวนนักแปลควรมี

               ความสามารถในการใชภาษาระดับไหน  สัญฉวีกลาวถึงคําแนะนําของยูจีน  ไนดา  (Eugene    Nida)
               ผูเชี่ยวชาญดานทฤษฎีการแปลชาวอเมริกันที่วา  ผูแปลจะตองมีความสามารถในการใชภาษาของบท

               ตนฉบับมากพอควร  และมีความสามารถในการใชภาษาฉบับแปลไดดีเยี่ยม  สัญฉวีจัดประเภทนักแปล

               และงานแปลตามความสามารถในการใชภาษาเปนสี่ประเภท  คือ  นักแปลที่มีความสามารถในการใช

               ภาษาตนฉบับและภาษาฉบับแปลไดอยางดีเยี่ยมเทาๆ  กัน  นักแปลที่แปลจากตนฉบับที่เปนภาษาแมไปสู

               ภาษาที่สอง  นักแปลที่แปลจากตนฉบับที่เปนภาษาที่สองมาสูภาษาแม  และนักแปลที่แปลจากตนฉบับที่
               เปนภาษาที่  ๒  เปนภาษาที่  ๓  นักแปลประเภทแรกเปนนักแปลในอุดมคติซึ่งหาไดยากยิ่ง  นักแปล

               ประเภทที่  ๓  แปลจากตนฉบับภาษาที่  ๒  มาสูภาษาแมจะมีลักษณะสมบูรณและมีคุณภาพดีกวางาน

               แปลประเภทที่  ๒  สวนนักแปลประเภทสุดทายมีขอจํากัดมาก  ควรจะทําตอเมื่อเปนการแปลแบบเอา

               ความเทานั้น  (สัญฉวี สายบัว, ๒๕๕๐: ๑๘-๒๐)

                       เห็นชัดวา  ผูแปลชาวไทยซึ่งเรียนภาษาจีนในฐานะภาษาตางประเทศ  มีความสามารถใน
               การใชภาษาจีนไดนอยกวาภาษาแม  เนื่องจากไดเรียนและไดใชในภายหลัง  จึงเหมาะที่จะแปล
               งานประเภทที่  ๓  คือจากภาษาจีนมาสูภาษาไทย  มากกวาการแปลจากภาษาไทยเปนภาษาจีน

               แตในการปฏิบัติงาน  มักตองเผชิญกับสถานการณที่ทําใหตองแปลจากภาษาไทยไปเปนภาษาจีน  หาก

               เปนงานแปลวรรณกรรมหรือหนังสือ  อาจปฏิเสธไมรับงานได  แตถาปฏิบัติงานในองคกรเอกชน  ก็เปนการ

               ยากที่จะหลีกเลี่ยงงานแปลเอกสารขององคกร  และหากเปนการแปลเชิงลาม  บอยครั้งที่ตองทําหนาที่ทั้ง

               ลามแปลจากภาษาจีนเปนภาษาไทย  และแปลจากภาษาไทยเปนภาษาจีนในเวลาเดียวกัน
                       จะเห็นไดวา  แมการแปลภาษาไทยเปนภาษาจีน  จะไมใชงานถนัดของผูแปลชาวไทยที่

               เรียนภาษาจีนเปนภาษาตางประเทศ  และยากจะปฏิบัติหนาที่ไดสมบูรณ  แตก็เปนสิ่งที่ยากจะ

               หลีกเลี่ยงได  การศึกษาวิชาการแปลภาษาไทยเปนภาษาจีนจึงเปนเรื่องที่มีความจําเปนอยางยิ่ง
               และควรที่จะศึกษาทั้งในสวนของทฤษฎีและปฏิบัติ  คนจํานวนหนึ่งมักคิดวาการแปลเปนเรื่อง

               ประสบการณและทักษะทางภาษา  ไมจําเปนตองศึกษาทฤษฎีใหยุงยาก  ปฏิบัติมากๆ  ก็ยอมเกิดความ







                                                            ๑
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12