Page 50 -
P. 50

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





               กระบวนการผลิตทั้งหมด ทําใหตนทุนเฉลี่ยของเกษตรกรที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวแบบมีพันธะสัญญาสูงกวา

               เกษตรกรที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวแบบไมมีพันธะสัญญา แตผลตอบแทนเฉลี่ยตอไรของเกษตรกรที่ปลูกขาวโพด

               เลี้ยงสัตวแบบมีพันธะสัญญากลับไดสูงกวา นอกจากนี้ เหตุผลของการตัดสินใจปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวแบบมี

               และไมมีพันธะสัญญาจะขึ้นอยูกับการประกันราคาผลผลิตมากที่สุด รองลงมาคือ มีตลาดรองรับผลผลิตที่

               แนนอน การลดความเสี่ยงเมื่อเขารวมในสัญญาการรับซื้อผลผลิตถึงที่ และการไดรับปจจัยการผลิตลวงหนา

               ตามลําดับ

               การศึกษาปจจัยดานการผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตวของเกษตรกร ในเขตลุมน้ําหวยแมตา อําเภอลอง จังหวัดแพร

               โดย สงัด แตงออน (2550) พบวา เกษตรกรยังขาดความรูความเขาใจในเรื่องการใสปุยเคมี ดินขาดความอุดม

               สมบูรณ ปจจัยการผลิตมีราคาแพง ราคาผลผลิตไมแนนอน การระบาดของหนู ฝนทิ้งชวง แหลงรับซื้อผลผลิต

               อยูหางไกล เหลานี้ยังเปนสิ่งที่สงผลตอการผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตวและคุณภาพชีวิตของเกษตรกร ซึ่งสอดคลอง

               กับ นิพนธ พลับเจริญสุข (2547) ที่ศึกษาวิเคราะหทางเศรษฐกิจการผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตวจําแนกตามวิธีการ

               เขตกรรมในจังหวัดสระแกว ปการผลิต 2545/46 พบวา ปจจัยที่สงผลตอการเปลี่ยนแปลงผลผลิตที่มีนัยสําคัญ

               ทางสถิติ ไดแก เมล็ดพันธุ มูลคาปุยเคมี และแรงงานที่ใช เมื่อพิจารณาประสิทธิภาพทางเทคนิคและทาง

               เศรษฐกิจของการใชปจจัยการผลิตทั้ง 3 เกษตรกรควรจะลดการใชปุยเคมีลง แตใหเพิ่มการใชเมล็ดพันธุและ

               แรงงาน เพื่อใหเกิดการใชปจจัยในระดับที่เหมาะสมและกอใหเกิดกําไรสูงสุด


               การศึกษาผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายของรัฐ และปจจัยที่มีผลตอการผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตว โดย

               ใชแบบจําลองทางคณิตศาสตรที่เปนจริง วสุรัตน แซโงว (2554) ไดสรุปวา การกําหนดราคาประกันขาวโพด


               เลี้ยงสัตวในระดับสูง จะสงผลตอการเปลี่ยนแปลงการใชทรัพยากร โดยทรัพยากรดินจะมีการเปลี่ยนแปลงมาก
               ที่สุด รองลงมาคือ ทุนและแรงงาน ตามลําดับ ในกรณีของการแทรกแซงราคาขาวโพดเลี้ยงสัตวในจังหวัด


               เชียงใหม ในปเพาะปลูก 2552/53 ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร สาขาอําเภอแมแจม อําเภอ
               เชียงดาว และอําเภอพราว เปนหนวยงานหลักในการดําเนินการแทรกแซงราคาขาวโพดเลี้ยงสัตว ซึ่งเกษตรกร


               สวนใหญมีความคิดเห็นตอมาตรการแทรกแซงราคาขาวโพดเลี้ยงสัตวทําใหรายไดมีความแนนอน ลดการสวม
               สิทธิ ลดปญหาการทุจริตคอรัปชั่น ไดรับความเปนธรรมในการซื้อ-ขาย ซึ่งถือเปนแรงจูงใจในการเพาะปลูก (วัช


               ราภรณ บุญเจริญ 2553) ในสวนของตนทุนและผลตอบแทนของการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว ตามนโยบายของ
               รัฐบาลโครงการจัดตั้งนิคมการเกษตรพืชอาหารและพลังงานทดแทนของสมาชิกสหกรณนิคมแมสอดจํากัด


               อําเภอแมสอด จังหวัดตาก พบวา การปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวแบบมีระบบน้ําในพื้นที่ 66-100 ไร จะใหผลกําไร
               สุทธิมากที่สุด รองลงมา คือ การปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวแบบไมมีระบบน้ําในพื้นที่ 66-100 ไร (ยุพรัตน จันทร


               แกว 2553)


                                                                                                       19
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55