Page 47 -
P. 47
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ในปที่มีฝนมาก มวลชีวภาพในระยะใบที่ 14 ลดลงเมื่อ คารบอนไดออกไซด เพิ่มขึ้น ทั้งผลผลิตน้ําตาล และ
น้ําหนักลําสดมีแนวโนมเพิ่มขึ้นเชนเดียวกับมวลชีวภาพ ที่ระยะใบที่ 14 ในปที่ฝนนอยและ คารบอนไดออกไซด
เพิ่มขึ้นเปน 2 เทา น้ําหนักหัวสดของมันสําปะหลังลดลงในปที่มีฝนนอย และปานกลาง แตเพิ่มขึ้นอยางเห็นได
ชัดในปที่มีฝนมาก ขณะที่วันแตกกิ่งแรก โดยทั่วไปจะเร็วขึ้น เมื่อคารบอนไดออกไซด เพิ่มขึ้นเปน 1.5 และ 2
เทา เทียบกับปปกติ สําหรับคาดัชนีการเก็บเกี่ยว จะลดลงเมื่อคารบอนไดออกไซด เพิ่มขึ้น ตรงกันขามกับดัชนี
พื้นที่ใบสูงสุด ยกเวน ในปที่มีฝนนอย
คณะสิ่งแวดลอมและทรัพยากรศาสตร (2551) วิเคราะหการคาดการณการใชน้ําของขาวโพดใน
อนาคต พบวา การใชน้ําของขาวโพดโดยใชขอมูลสภาพภูมิอากาศจากการคาดการณของแบบจําลองทาง
คณิตศาสตร PRECIS (Providing Regional Climates for Impact Studies) ทําการจําลองสภาพอากาศ โดย
ใชชุดขอมูล Global dataset ECHAM4: A2 Scenario พบวา ขาวโพดมีความตองการน้ําเพิ่มขึ้นประมาณ
20% ของการใชน้ําในชวงป ค.ศ. 1980-1989 และจะมีความตองการน้ําของขาวโพดมากที่สุดอยูในชวงกลาง
ของการเจริญเติบโตเพิ่มขึ้นจากปฐาน ในชวงป ค.ศ.2080-2089 ดังนั้นความแปรปรวนของฝนที่ตกในพื้นที่ที่
ปลูกขาวโพดที่อาศัยน้ําฝนอาจสงผลกระทบตอผลผลิตได
ขาวโพดเลี้ยงสัตวที่อาศัยน้ําฝนจะเปดรับกับความไมแนนอนของการเริ่มตนของฤดูฝนที่อาจ
เปลี่ยนแปลงไปทําใหการเริ่มตนของฤดูกาลปลูกไมแนนอน ความแปรปรวนของฤดูฝนในฤดูกาลผลิตอาจมีผล
ทําใหขาวโพดเสี่ยงตอการระบาดของแมลงและโรคระบาดในขาวโพด เกริก ปนแหนงเพชร และ คณะ (2552)
คาดการณวาผลผลิตของขาวโพดเลี้ยงสัตวในอนาคตอาจเปลี่ยนแปลงไปไมมากนัก
จินตนา สุขมณี (2553) ศึกษาการรับรูและการจัดการความเสี่ยงของเกษตรกรผูปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว
อําเภอปากชอง จังหวัดนครราชสีมา ปการเพาะปลูก 2552 พบวา เกษตรกรรับรูความเสี่ยงดานภัยแลงมาก
ที่สุด แตสนใจที่จะจัดการความเสี่ยงดังกลาวรองจากการจัดการความเสี่ยงผานโครงการประกันรายได การ
จัดการความเสี่ยงภัยแลงสัมพันธกับปจจัยสวนบุคคลดานมูลคาทรัพยสินทางการเกษตรและการรับรูความเสี่ยง
ดานการเพาะปลูก ดังนั้นการเพิ่มความสนใจของเกษตรกรในการจัดการความเสี่ยงดานภัยแลงภายใตโครงการ
ประกันภัยพืชผลใหสูงขึ้นจําเปนตองมีการปรับปรุงระดับการรับรูถึงความเสี่ยงโดยเฉพาะ การเลือกใชเมล็ด
พันธุและการใสปุยซึ่งเปนตนทุนที่สําคัญที่สงผลตอรายไดของเกษตรกร
2.6 สภาพปญหาของการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวในประเทศไทย
จากการศึกษาของ พุฒิพงศ นวกิจบํารุง และ อัจฉรา รักยุติธรรม (2557) อธิบายถึงขั้นตอนและผูที่
เกี่ยวของในวงจรการผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตวใน อ. แมแจม จ. เชียงใหม ประกอบดวย เกษตรกร ผูรับจางสีและ
16