Page 44 -
P. 44

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





                        แบบจําลอง EPIC นี้จะตอบสนองกับขอมูลนําเขา 3 ชุด คือ ขอมูลอากาศ ขอมูลดิน และขอมูลการ

               จัดการพืช ซึ่งมีผลตอปริมาณผลผลิต ในการศึกษาของ Roloff el al. (1998) ไดพิจารณาถึงปจจัยของดินที่มี

               ผลตอการปลูกขาวโพด และถั่วเหลือง โดยไดพิจารณาถึง Bulk density, Field capacity, Sand content,

               Silt content และ อุณหภูมิของดิน (soil temperature) ซึ่งเปนสวนสําคัญในการเจริญเติบโตของรากพืช

               และความสมดุลของไนโตรเจน และคารบอนในดิน รวมถึงปจจัยดานการจัดการพืช คือ อัตราการใสปุย

               โดยเฉพาะไนโตรเจน ก็เปนปจจัยสําคัญเชนกัน Ramanarayanan et al. (1997) ศึกษาการเคลื่อนยาย

               ไนโตรเจน (Nitrogen transport) ของระบบน้ําในดินซึ่งเกี่ยวของกับพลวัตของไนโตรเจนและพลวัตของน้ําใน

               ดิน ซึ่งเปนเครื่องมือที่มีประโยชนสําหรับการจัดการดานการเกษตรเกี่ยวกับสมดุลของน้ําและคุณภาพน้ํา

               McLaughlin (2006) พบวา EPIC มีประสิทธิภาพสูงในการประเมิน water and nitrogen budgetsในชวง

               เวลาระยะยาว (หลายป) สําหรับในชวงเวลาระยะสั้น ๆ (เดือน) และชวงที่มีอัตราการไหลสูงสุด ความถูกตอง

               จะลดลง ซึ่งขึ้นอยูกับความผันแปรของวัฏจักรไนโตรเจนและความชื้นในดินดวย


               2.4 การประเมินสมดุลน้ําในพื้นที่ลุมน้ํา

                       ปริมาณน้ําในพื้นที่ลุมน้ําเปนตัวแปรสําคัญที่มีผลตอการผลิตทางการเกษตรในพื้นที่ ซึ่งสามารถใชเปน

               แนวทางในการจัดการน้ําอยางมีประสิทธิภาพ วิธีการประเมินปริมาณน้ํามีหลากหลายวิธี (สมดุลน้ํา) อยางไรก็

               ตาม Arnold et al., (1998) ไดพัฒนาเครื่องมือ Soil and Water Assessment Tool (SWAT) ซึ่งใชแนว

               ทางการจําลองอุทกวิทยา ที่อาศัยพื้นฐานของขอมูลทางดานกายภาพ ในการคํานวณแบบตอเนื่องตามชวงเวลา

               เพื่อทํานายผลกระทบของการจัดการที่ดินตอปริมาณน้ําทา ตะกอน และปริมาณสารเคมีในพื้นที่ลุมน้ําที่


               เปลี่ยนแปลงในเชิงเวลา โดยองคประกอบของแบบจําลอง SWAT จะประกอบดวย ขอมูลอุทกวิทยา ภูมิอากาศ
               ตะกอน อุณหภูมิดิน การเจริญเติบโตของพืช การจัดการธตุอาหารพืช สารเคมีปองกันและกําจัดศัตรูพืช และ


               การจัดการดานการเกษตร (Neitsch et al., 2004)


                       แบบจําลอง SWAT ถูกออกแบบใหสามารถใชงานรวมกับโปรแกรม ArcGIS โดยทํางานผานโปรแกรม

               ArcSWAT เพื่อใชเปนระบบติดตอกับผูใชงานผานระบบภูมิสารสนเทศ โดยโปรแกรม ArcSWAT เปนโปรแกรม

               เสริม (Extension) ของโปรแกรม ArcGIS SWAT พัฒนาขึ้นโดย Blackland Research Center, TAES และ

               United States  Department  of  Agriculture-Agriculture Research Service (USDA-ARS)  เป น

               แบบจําลองที่มีการพัฒนาตอเนื่องมาตั้งแต ป พ.ศ. 2533 จนกระทั่งมาเปนเวอชั่นลาสุด คือ SWAT2012 และ

               ArcSWAT ซึ่งมีลักษณะเปน Public Domain Model กลาวคือ สามารถนําไปใชงานไดโดยไมตองจัดซื้อ หรือ

               เสียคาลิขสิทธิ์แตอยางใด ผูใชสามารถดาวนโหลดโปรแกรม และคูมือการใชโปรแกรมไดฟรี (บัณฑิตา ขันติสิทธิ์

               และ อรอนงค วรรณราช, 2557)

                                                                                                       13
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49