Page 45 -
P. 45

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





                       หลักการวิเคราะหของแบบจําลอง SWAT แบงออกเปน 2 สวน ไดแก สวนพื้นดิน (Land phase)

               และสวนการเคลื่อนที่ในลําน้ํา (Routing phase) โดยการวิเคราะหในสวนพื้นดินจะเปนการศึกษาวงจรอุทก

               วิทยา เพื่อประเมินปริมาณน้ําทา ปริมาณตะกอน ปริมาณไนโตรเจน ปริมาณฟอสฟอรัส และสารเคมีจาก

               การเกษตรที่จะไหลลงสูลําน้ําหลักของแตละลุมน้ํายอย สําหรับการวิเคราะหการเคลื่อนที่ในลําน้ํา จะเปนการ

               คํานวณการเคลื่อนที่ของน้ํา ตะกอน และธาตุอาหารตาง ๆ ไปตามลําน้ํา ตลอดทั้งโครงขายระบบลําน้ําของลุม

               น้ํา



































               รูปที่ 2- 4 วงจรอุทกวิทยาของแบบจําลอง SWAT (Neitsch et al., 2005)

                       จากรูปที่ 2-4 ปริมาณน้ําภายในลุมน้ําจะสามารถประเมินไดจากสมการสมดุลน้ํา ดังสมการดานลาง







                       เมื่อ SW t คือปริมาณน้ําในดินสุดทาย (มม) SW คือ ปริมาณน้ําในดินเริ่มตนในวันที่ i (มม), t คือ เวลา

               (วัน), R คือ ปริมาณน้ําฝน (มม), Q คือ ปริมาณน้ําไหลบาบนผิวดิน (มม), ET คือ ปริมาณการคายระเหยน้ํา

               (มม), P คือ ปริมาณน้ําที่ซึมลึกลงไปใตดิน (มม) และ QR คือ ปริมาณน้ําไหลลงแมน้ํา (มม)


                       จนถึงปจจุบันนี้แบบจําลอง SWAT ยังคงไดรับการยอมรับอยางกวางขวาง และมีการประยุกตใชอยาง

               หลากหลาย เชนการศึกษา Bouraoui et al. (2005) และ Xiaobo et al. (2008) ไดใชแบบจําลอง SWAT

               รวมกับระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร (GIS) ในการประเมินผลกระทบการใชประโยชนที่ดินและการจัดการ



                                                                                                       14
   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50