Page 41 -
P. 41

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





               Li et al. (2015) ไดประเมินความเปราะบาง และศักยภาพในการปรับตัวตอความแหงแลงของขาวโพดที่ปลูก

               ในฤดูหนาว โดยใช crop model DSSAT ผลการศึกษาคาดการณวา ความแหงแลงที่รุนแรงจะเกิดในป 2030

               ดังนั้นแผนในการปรับตัวตองรีบดําเนินการ


                       โมเดลการประเมินความเสี่ยงของความแหงแลงสําหรับพืชในมาตราสวนระดับภูมิภาค (regional

               scale) โมเดลพืชตองครอบคลุมประเด็นเหลานี้ 1. มีความยืดหยุนสําหรับการจําลองพืชที่แตกตางบนเงื่อนไข

               สภาพอากาศที่ตางกัน 2. สามารถที่จะจําลองผลผลผลิตและการขาดน้ํา (water stress) 3. ตองการขอมูลที่ไม

               มาก และ 4. งานวิจัยที่ลึกในเชิงพื้นที่ โมเดล 5 โมเดล ไดรับการพิจารณาและถูกเปรียบเทียบไดแก DSSAT,

               CropWat, WOFOST, CropSyst and EPIC โดยที่ DSSAT มีการรวมชุดโมเดลพืชสําหรับพืชแตละชนิด

               (IBSNAT: International Benchmark Sites Network for Agrotechnology Transfer 1989) CropWat

               เปนเพียงเครื่องมือชนิดหนึ่งของชุดสวนติดตอการดําเนินงานแบบโตตอบของระบบและรหัสที่มีอยูไมฟรี

               WOFOST อธิบายเกี่ยวกับสรีรวิทยาของพืชไดดี แตตองปอนรายละเอียดของขอมูลมาก (Monteith 1996)

               CropSyst ไมเหมาะสมในการจําลองขาวเพราะวาตัวแปรของขาวไมไดรับการสอบเทียบที่ดี (Confalonieri

               and Bocchi 2005)



                       เมื่อทําการเปรียบเทียบโมเดลพืชที่กลาวมา EPIC โมเดล (Erosion-Productivity Impact

               Calculator model) ซึ่งมีการพัฒนาในชวงศตวรรษที่ 1980s ในการประเมินผลกระทบของการพังทลายตอ

               ผลผลิต (Williams et al. 1984) ไดเลือกเปนเครื่องมือพื้นฐานในการศึกษาครั้งนี้ เนื่องจากเหตุผลตางๆ ดังนี้

               1. EPIC ใชวิธีการแบบครบวงจรในการจําลองชนิดพืชมากกวา 100 ชนิด (Williams 1995) 2. โมเดลมีการ

               พัฒนาอยางตอเนื่องตั้งแต 1985 RCA และเวอรชั่น EPIC 0509 ซึ่งสามารถดาวโหลดฟรี จากเวปไซด ของ

               Texas A&M Agri-life Research (2012) และ 3. การเจริญเติบโตของพืชเปนองคประกอบที่สําคัญมากที่สุด

               ของ EPIC  การขาดน้ําและผลผลิต ซึ่งถูกใชในการสรางเสนโคงความเปราะบางจากความแหงแลงและการ

               คํานวณอันตรายจากความแหงแลง (drought hazard) มีสาเหตุมาจากการขาดแคลนน้ํา สามารถที่จะจําลอง

               ทุกเงื่อนไขของพืชจากหนึ่งโมเดลพืชโดยใชคาตัวแปรที่ไมซ้ํากันของแตละพืช 4. EPIC ปฏิบัติการอยางตอเนื่อง

               พื้นฐานโดยใชอนุกรมเวลารายวันและสามารถดําเนินการจําลองในระยะยาวเปนรอยป (Sharpley and

               Williams 1990) และ 5. เพราะวาผลลัพธที่ดีในการจําลอง โมเดลนี้จึงถูกประยุกตอยางกวางขวางในอเมริกา

               และเขตอื่นๆ ในสภาพสิ่งแวดลอมที่กวางขวาง (Tan and Shibasak 2003) ในการประเมินการสูญเสียการ

               พังทลายของดินจากลม การไหลเวียนคารบอนในดิน  ผลกระทบของผลผลิตพืชจากการเปลี่ยนแปลงสภาพ

               อากาศและการพังทลาย ในปจจุบัน EPIC ไดถูกใช ในการประเมินผลกระทบจากภัยพิบัติ (disaster) ตอพืช

               การขาดแคลนน้ํา

                                                                                                       10
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46