Page 43 -
P. 43

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





               (plant environment control) และเศรษฐกิจ (economics) (Williams 1990)  จากการศึกษาของ

               Williams et al. (2006) ระบุถึงการพัฒนาโมเดล EPIC เพิ่มเติมซึ่งครอบคลุมการวิเคราะห สภาพอากาศ

               (Weather) การไหลบาน้ําผิวดิน (surface runoff) การไหลกลับ (return flow) การไหลซึม (percolation)

               การคายระเหย (evapotranspiration: ET) การไหลลงสูชั้นลางดานขาง (lateral subsurface flow) การ

               ละลายของหิมะ (snow melt) การชะลางดวยน้ํา (Water Erosion) การพังทลายดวยลม (Wind erosion)

               การสูญเสียสารอาหาร ไนโตรเจน-ฟอสฟอรัสของน้ําทา  (N & P loss in runoff) การชะละลายของไนโตรเจน

               (nitrogen leaching) การเคลื่อนยายอินทรีย ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส จากการทับถม (Organic N & P

               transport by sediment) การตรึงไนโตรเจน (N fixation) การใชยากําจัดศัตรูพืชและการเคลื่อนยาย

               (Pesticide fate and transport) อุณหภูมิดิน (Soil temperature) การเจริญเติบโตของพืชและผลผลิต

               มากกวา 80 ชนิด  (Crop growth and yield for over 80 crops) การหมุนเวียนพืช (Crop rotations) การ

               ไถ (Tillage) การควบคุมสิ่งแวดลอมตอพืช การระบายน้ํา ชลประทาน การใสปุย ระบบการใหน้ํา


                        โมเดลไดมีการนําไปใชและตรวจสอบความถูกตองอยางกวางขวางและเรียกชื่อใหมเปน The

               Environmental Policy Integrated Climate (EPIC)



                        Priya et al. (1998) และ Priya and Shibasaki (2001) ไดประยุกตแบบจําลอง EPIC ในประเทศ

               อินเดีย กลาววา ระบบสนับสนุนการตัดสินใจแบบดั้งเดิม ตามโมเดลการจําลองการปลูกพืชโดยปกติขึ้นกับ

               พื้นที่เฉพาะเจาะจง ในการกําหนดนโยบาย แตความแปรปรวนของพื้นที่การผลิตพืชมักจะตองมีการประเมิน

               เนื่องจากสภาพดินที่แตกตางกัน สภาพอากาศ และการปฏิบัติทางการเกษตรภายในภูมิภาคเปาหมาย ในการ

               กลาวถึงความผันแปรเชิงพื้นที่ "EPIC เชิงพื้นที่" ไดรับการพัฒนาบนพื้นฐานของการจําลองการปลูกพืชแบบ

               EPIC  ตั้งแตรูปแบบการจําลองการเพาะปลูกเฉพาะพื้นที่ตองใชขอมูลความละเอียดของจุดที่ใชหรือขอมูลที่มี

               ความละเอียด เปนสิ่งที่จําเปนที่จะปอนขอมูลความละเอียดที่ดีลงแตละตารางเซลลเพื่อสามารถบอกพิกัดทาง

               ภูมิศาสตรได แบบจําลองการปลูกพืช นักวิจัยไดเสนอวิธีการสําหรับรายละเอียดอยางหยาบ เชนระดับประเทศ

               (ประมาณ 50 กิโลเมตร กริด-เซลล) และเปนเขต (ประมาณ 10 กิโลเมตร กริด-เซลล) จากการศึกษาในอินเดีย

               พบวา ทั้ง 2 ระดับความละเอียดขนาดกริด-เซลล ใหผลผลิตที่แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญเนื่องจากความผัน

               แปรของสภาพอากาศ คุณสมบัติการอุมน้ําของดิน และการประยุตการจัดการพืช ผลการศึกษาประสบ

               ความสําเร็จ ในการแสดงใหเห็นถึงการประยุกตใชแบบจําลองในการประเมินผลกระทบของการเปลี่ยนแปลง

               สภาพภูมิอากาศตอผลผลิตธัญพืชที่สําคัญในระดับชาติ







                                                                                                       12
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48