Page 48 -
P. 48
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ขนสง ผูรวบรวมผลผลิต และโรงงานผลิตอาหาร ซึ่งแหลงเงินทุนจะมาจาก 3 แหลงใหญ คือ ของเกษตรกรเอง
หรือจากผูรับจางสี-ขนสง หรือผูรวบรวมผลผลิต โดยรวมแลวเกษตรกรที่อยูบนพื้นที่ลาดชันจะปลูกขาวโพดได
เพียงครั้งเดียว โดยจะเริ่มตั้งแตเดือนมีนาคม-เมษายน และเมื่อเก็บเกี่ยวแลวเกษตรกรจะเก็บฝกและเก็บ
ขาวโพดเอาไวใหแหงสนิท แตเกษตรกรที่อาศัอยูบนที่ราบ ใกลแหลงน้ํา จะนิยมขายสด เกษตรกรที่ปลูกแบบ
ขายสดมีโอกาสปลูกขาวโพดรุนที่ 2
ในพื้นที่แมแจม จ. เชียงใหม ชาวบานหันมาปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวในชวง 10 ปที่ผานมา เปนจํานวน
มากขึ้น ตั้งแตป 2544-2557 ดังนี้ 18,834 ไร, 23,824 ไร, 31,289 ไร, 29,657 ไร, 48,560 ไร, 61,146
ไร, 82,904 ไร, 81,105 ไร, 86,104 ไร, 61,872 ไร 105,456 ไร, 99,511 ไร, 106,528 ไร, 118,791 ไร
ตามลําดับ (ดังรูปที่ 2-5) (สํานักงานเกษตรเชียงใหม 2557)
การเพิ่มขึ้นของพื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว สวนทางกับ การลดลงของการปลูกพืชหลากหลายชนิด
ตามวิถีชีวิตเดิม ของคนในพื้นที่ นอกจากนี้ พื้นที่แมแจม ยังกลายเปนพื้นที่กอใหเกิดหมอกควัน แผขยายลงไป
ถึงตัวเมืองเชียงใหม
รูปที่ 2- 5 พื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวที่ อ. แมแจม
พุฒิพงศ นวกิจบํารุง และ อัจฉรา รักยุติธรรม (2557) ไดนําเสนอและวิเคราะหภาพลักษณที่คนบน
พื้นที่สูงไดถูกคาดหมายและความเปนจริงที่คนบนพื้นที่สูง ไดปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตของตน โดยเฉพาะอยางยิ่ง
เกี่ยวของกับการเกษตรบนพื้นที่สูง ชาติพันธุปกาเกอะญออาจประสบความสําเร็จในการสรางภาพลักษณความ
เปน “นักอนุรักษ” เพื่อตอสูตอรองกับรัฐภายใตวาทกรรมการอนุรักษ แตยุทธวิธีดังกลาวไมอาจทําใหชาวบาน
17