Page 51 -
P. 51

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





                       การศึกษาความตองการเนื้อสัตวที่มากขึ้นของตลาด วิศิษฐ ลิ้มสมบุญชัย และ คณะ (2545) ไดทําการ

               วิเคราะหระบบธุรกิจการเกษตรขาวโพดเลี้ยงสัตวของจังหวัดลพบุรี พบวา ระบบธุรกิจขาวโพดเลี้ยงสัตวใน

               ประเทศไทยไดรับผลกระทบมาจากอุตสาหกรรมเนื้อสัตวโดยเฉพาะไกเนื้อ หมายความวาอุปสงคขาวโพดเลี้ยง

               สัตวที่เกิดขึ้นเปนอุปสงคตอเนื่องมาจากอาหารสัตว ทําใหธุรกิจขาวโพดเลี้ยงสัตวลดความพึ่งพาจากการสงออก

               ที่ในอดีตเคยมีบทบาทอยางสูงตอระบบธุรกิจขาวโพดเลี้ยงสัตว นอกจากนี้ ธีระพงษ เปรมพินิจ (2545) ได

               วิเคราะหผลกระทบของการปฏิบัติตามพันธะกรณีขอตกลงสินคาเกษตร ตอความตองการขาวโพดเลี้ยงสัตว

               และอุตสาหกรรมไกเนื้อในประเทศไทย พบวา ปจจัยสําคัญที่เปนตัวกําหนดอุปสงคขาวโพดเลี้ยงสัตวใน

               ประเทศ คือ ราคาขายสงขาวโพดเลี้ยงสัตว ราคาขายสงปลายขาว และปริมาณการผลิตอาหารสัตว สวนปจจัย

               สําคัญที่เปนตัวกําหนดอุปทานขาวโพดเลี้ยงสัตวในประเทศ คือ ราคาขายสงขาวโพดเลี้ยงสัตว ราคาเมล็ดถั่ว

               เหลือง และนโยบายการนําเขาขาวโพดเลี้ยงสัตวของไทย ปจจัยสําคัญที่เปนตัวกําหนดอุปสงคการนําเขา

               ขาวโพดเลี้ยงสัตว คือ ราคานําเขาขาวโพดเลี้ยงสัตว


                       เบญจพรรณ เอกะสิงห และคณะ (2544) ศึกษาศักยภาพการผลิตและความตองการของเกษตรกรใน

               การปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวในแหลงปลูกสําคัญของประเทศไทย ปการผลิต 2543 พบวา การผลิตขาวโพดใน

               พื้นที่สูงและอยูหางไกลมีขอเสียเปรียบการผลิตบนพื้นที่ราบหลายอยาง ไดแก ตองซื้อปจจัยการผลิตในราคา

               แพง ขายผลผลิตในราคาที่ต่ํากวา ไดรับขาวสารดานวิชาการจากหนวยงานที่เกี่ยวของนอย เกษตรกรมี

               ทางเลือกในการปลูกพืชอื่นคอนขางนอย ไดผลผลิตต่ํากวาการผลิตในพื้นที่ราบมีปญหาในการชะลางพังทลาย

               ของหนาดินคอนขางสูง เชนเดียวกับ ธัญยธรณ จิตอรวรรณ (2553) ที่ประเมินปริมาณการกรอนดินและ

               ปริมาณสารเคมีในตะกอนดินบริเวณพื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว ในเนื้อที่ 189.5 ไร บริเวณตําบลน้ําชุน อําเภอ

               หลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ พบวาปริมาณตะกอนที่เกิดขึ้นเทากับปริมาณการกรอนดินที่เกิดจากการตกกระทบ


               ของเม็ดฝน ซึ่งจัดวาเปนการกรอนดินในพื้นที่ (on-site erosion) โดยปริมาณตะกอนที่เกิดขึ้นทั้งปจากการ
               คํานวณโดยใชแบบจําลองทางคณิตศาสตร CREAMS เทากับ 266,818 ตันตอไรตอป สวนปริมาณสารเคมีใน


               ตะกอนดินที่ไดจากการคํานวณพบวามีปริมาณคอนขางนอยเมื่อเทียบกับปริมาณตะกอนดินที่เกิดขึ้น จะเห็นได
               วาการใชประโยชนที่ดินซึ่งเปลี่ยนแปลงจากการกระทําของมนุษยกอใหเกิดการกรอนดินสูง



               2.7 ปญหาหมอกควันในเชียงใหม

                       หมอกควัน ถือไดวาเปนมลพิษทางอากาศที่สําคัญ ซึ่งเปนผลมาจากกระบวนการเผาไหม หรือ สันดาป

               ที่ไมสมบูรณ เปนตนกําเนิดของสารมลพิษทางอากาศที่ปะปนอยู กับอนุภาคฝุนละอองขนาดเล็กที่เมื่อเขาไปใน

               ปอดแลวไมสามารถขับออกมาได สารมลพิษกลุมที่มีจํานวนชนิดมากที่สุด เปนสารประกอบอินทรียที่มีชื่อวา

               พอลิไซคลิกอะโรมาติก ไฮโดรคารบอน (Polycyclic Aromatic Hydrocarbons) ที่มักเรียกชื่อวา พีเอเอช

                                                                                                       20
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56