Page 52 -
P. 52

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





               หรือ พาห (PAH) ซึ่งมีสารสมาชิกไมนอยกวาสิบชนิดที่เปนสารกอมะเร็ง และแทบทุกชนิดเปนสารที่คงอยูใน

               สิ่งแวดลอมไดนานไมสลายตัวไดงาย (ถิรไชย แจงไพร 2553) จากสถานการณหมอกควันไฟปา ในหลายจังหวัด

               ในภาคเหนือ ไดสงผลกระทบเปนวงกวาง จากขอมูลของกรมควบคุมมลพิษในวันที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2559 พบ

               คุณภาพอากาศอยูในระดับปานกลาง จนถึงมีผลกระทบตอสุขภาพ ปริมาณฝุนละอองขนาดไมเกิน 10 ไมครอน

               (PM10) เฉลี่ย 24 ชั่วโมง มีคาระหวาง 58-175 ไมโครกรัมตอลูกบาศกเมตร โดยหลายพื้นที่มีคาเกินมาตรฐาน

               คือ 120 ไมโครกรัมตอลูกบาศกเมตร ซึ่งมีผลกระทบตอสุขภาพ และจากรายงานของสํานักงานควบคุมโรคที่ 1

               จังหวัดเชียงใหม ในชวงปลายเดือนกุมภาพันธ พ.ศ. 2559 ถึง มีนาคม พ.ศ. 2559 พบผูปวยที่ไดรับผลกระทบ

               จากปญหาหมอกควัน 4 กลุมโรค รวม 62,635 คน ไดแก โรคหัวใจและหลอดเลือด 34,208 คน โรคระบบ

               ทางเดินหายใจ 24,233 คน โรคผิวหนังอักเสบ 2,133 คน และโรคตาอักเสบ 2,061 คน (สํานักขาวรัฐบาลไทย

               2559) การเกิดหมอกควันในพื้นที่จังหวัดเชียงใหมมีสาเหตุสําคัญๆ สวนใหญเกิดจากพฤติกรรมหรือการกระทํา

               ของมนุษย ประการแรก   การเผาปา สภาพพื้นที่สูงของจังหวัดเชียงใหมมีชนเผาตางๆ อาศัยทํากินอยู

               โดยทั่วไปวิถีชีวิตของคนพื้นที่สูงบางเผาพันธุมีวิธีการเพาะปลูกแบบไรเลื่อนลอย และนิยมเผาปาเพื่อขยายพื้นที่

               การเพาะปลูกและเพื่อกําจัดเศษวัสดุเหลือใชจากการปลูกพืชไร ประกอบกับสภาพภูมิประเทศ ที่เปนแอง

               กระทะ และสภาพภูมิอากาศในชวงฤดูหนาวที่มีความกดอากาศสูง สภาพอากาศนิ่งและแหงเปนเวลานาน ทํา

               ใหมีการสะสมของสารมลพิษเหลานี้ในบรรยากาศสูงเกินมาตรฐาน ประการที่สอง การเผาในที่โลง บริเวณพื้นที่

               แองเชียงใหมยังมีที่ดินที่เจาของไมไดใชประโยชน โดยปลอยใหเปนพื้นที่รกราง รวมทั้งพื้นที่แหลงนํ้าทั้งของ

               เอกชนและของราชการ ผูมีสวนเกี่ยวของมักจะกําจัดวัชพืชเหลานี้โดยการเผา นอกจากนี้การที่เกษตรกรใน

               พื้นที่แองเชียงใหมยังนิยมกําจัดเศษพืชผักที่ไมไดใชประโยชนหลังการเก็บเกี่ยว เชน ตอขาว ฟาง เศษผัก ฝก

               ขาวโพด เปนตน จึงเปนการเผาในที่โลง อีกประการหนึ่งของการสรางปญหาหมอกควัน สําหรับปญหาการเผา

               ในที่โลง ของอําเภอแมแจม โดยเฉพาะการเผาเศษซังขาวโพด เปลือก และตนขาวโพด จะพบเปนจํานวนมาก

               ทุกป โดยเฉพาะในระยะ 2-3 ปยอนหลัง นับตั้งแตป 2550, 2551 และป 2552 พบวา มีปริมาณผลผลิตเศษ

               เหลือโดยรวมมากถึง 22,400 ตัน (สุชน ตั้งทวีวิพัฒน และคณะ 2555)


                       วสันต ปญญาแกว และคณะ (2559) ไดศึกษาความเปนไปไดในการบริหารจัดการชีวมวลเหลือใชจาก


               การปลูกและแปรรูปขาวโพดเลี้ยงสัตว ในอําเภอแมแจม จังหวัดเชียงใหม พบวา ชาวบานในแมแจมสวนใหญ
               รับรูขาวสารเกี่ยวกับปญหาหมอกควัน โดยเฉพาะเรื่องไฟปาและการปองกันไฟปา แตการจัดการเศษซากชีว


               มวลขาวโพดนั้นยังไมทราบวาจะจัดการอยางไร สวนใหญจึงปลอยใหเปลือก ซังขาวโพด และเศษซากจากการ
               โมสีกรณีที่มีผูใชรถโมไปรับซื้อถึงที่ มักจะทิ้งไวในไรใหเนาสลายไปเองและรอเวลาเผาเพื่อเตรียมพื้นที่ปลูก


               ขาวโพดในปถัดไป ขณะที่สวนนอยจะนําเศษซากชีวมวลไปใชเลี้ยงสัตว และเมื่อพิจารณาถึงการลงพื้นที่ของ


                                                                                                       21
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57