Page 53 -
P. 53
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
หนวยงานหลายๆ แหง เพื่อแกไขปญหาการเผาดวยการจัดการเศษซากชีวมวลขาวโพดเหลานี้ ไมวาจะเปนการ
ทําปุยหมัก ถานอัดแทง หรือใชเปนอาหารสัตว กลับพบวาไมประสบความสําเร็จและไมมีความยั่งยืนของ
โครงการ ดังนั้น จึงควรนําไปผลิตเปนกอนพลังงานสําหรับใชปอนเตาอบในโรงงานโรงอบเมล็ดขาวโพดที่มี
ระบบไซโลในพื้นที่แมแจม หรืออาจขายสงนอกพื้นที่ใหแกโรงอบลําไยในเขตเชียงใหม-ลําพูน หรือโรงงานผลิต
อาหารสัตว นอกจากนี้ วรรเนตร พลภาณุมาศ และคณะ (2557) ยังเสนอวา การแกปญหาของหนวยงานตาง
ๆ ที่พยายามหาทางกําจัดชีวมวลจากขาวโพดเลี้ยงสัตวในเขตพื้นที่ในภาคเหนือจากวิธีการเผาในชวงฤดูแลง
โดยการนําชีวมวลเหลานี้ไปใชประโยชนแทนการเผาในที่โลง แนวทางดังกลาวใชชีวมวลไดไมถึงสิบเปอรเซนต
ของชีวมวลที่เกิดขึ้นจึงยังคงมีชีวมวลที่ตองเผาทิ้งอีกจํานวนมากและกอใหเกิดปญหามลพิษและหมอกควันอยู
ดังนั้น จึงมีแนวคิดที่จะกําจัดชีวมวลใหหมดลงไดในเตาชีวมวลที่ควบคุมและไมกอใหเกิดมลภาวะ และสามารถ
ผลิตพลังงานไฟฟาไดอีกดวย ซึ่งสามารถเพิ่มรายไดแกเกษตรกรที่นําชีวมวลที่เคยเผาทิ้งมาจําหนายใหกับ
โรงไฟฟา อีกทั้งยังลดมลภาวะทางอากาศลงไดอีกดวย
ในการวิจัยนี้เลือกใชเครื่องมือในการประเมินผลผลิตพืชทางการเกษตร EPIC โมเดล เนื่องจากมีการใช
อยางกวางขวางและเปน freeware ที่สามารถ download และปรับเทียบโมเดลใหเหมาะสมกับพืชและพื้นที่
ศึกษา และ SWAT โมเดลซึ่งเปนโมเดลที่ใชในการคาดการณปริมาณน้ําทาและตะกอนในพื้นที่ลุมน้ําซึ่งเปน
freeware เชนกัน มีความสะดวกและไมยุงยากในการนําเขาขอมูล และโมเดลทั้งสองสามารถใชขอมูลหลายๆ
ตัวแปรที่จัดเก็บคลายคลึงกัน
22