Page 55 -
P. 55

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





                       3.1.5 ขอจํากัดของการศึกษา:

                       ในการศึกษานี้ ยังคงมีขอจํากัดสําหรับประเมินผลผลิตของพืชหลายชนิด ที่แบบจําลอง EPIC ยังไม

               สามารถประเมินผลผลิตของพืชเหลานั้นได เนื่องจาก crop parameters ของแบบจําลอง EPIC ยังไม

               ครอบคลุมพืชทุกชนิด ไดแก ฟกทอง ผักกาด สตอเบอรรี่ กะหล่ําป หอมแดง ผักชี อะโวคาโด กาแฟ และผัก

               สวนครัว ตางๆ เปนตน นอกจากนี้ ถึงแมวาพืชบางชนิดจะสามารถประเมินผลผลิตไดโดยใชแบบจําลอง EPIC

               แตยังมีขอจํากัด เรื่องขอมูลผลผลิตของพืชนั้น ๆ ยอนหลังที่จําเปนสําหรับ model calibration เชน ถั่วลิสง

               เปนตน ดังนั้น ในการศึกษานี้ จึงไดทําการประเมินผลผลิตของพืช 3 ชนิด คือ ขาวโพดเลี้ยงสัตว มันฝรั่ง และ

               ถั่วเหลือง โดยพิจารณาถึง crop parameters ของแบบจําลอง EPIC และ ขอมูลผลผลิตยอนหลัง สําหรับ

               model calibration ที่อางอิงจาก สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร

                       ดังนั้น ในการศึกษานี้ จึงไดกําหนด Assumption ของการวิเคราะหผล ดังตอไปนี้

                       1. การประเมินผลผลิตของพืชที่ปลูกแบบเกษตรผสมสาน จะกําหนดใหถั่วเหลือง และมันฝรั่ง เปน

               ตัวแทนของพืชที่ปลูกแบบเกษตรผสมผสาน เนื่องจากพืชชนิดอื่นดังที่ระบุในหัวขอ 3.1.3 พบขอจํากัดดาน

               crop parameters ของแบบจําลอง EPIC และขอมูลปริมาณผลผลิต ยอนหลังที่จําเปนสําหรับ model

               calibration ดังนั้น ในการประเมินผลผลิตของพืชที่ปลูกแบบเกษตรผสมสาน ภายใตสถานการณสภาพ

               ภูมิอากาศในอนาคต จะใชการเปลี่ยนแปลงผลผลิตของถั่วเหลือง และมันฝรั่ง เปนตัวแทนของพืชที่ปลูกแบบ

               เกษตรผสมผสาน โดยตั้งสมมติฐานวา การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศจะมีผลกระทบตอพืชทุกชนิด ที่

               ปลูกในพื้นที่เดียวกันจะไดรับผลกระทบที่เหมือนกัน

                       2. การเปรียบเทียบรูปแบบการใชประโยชนที่ดินในการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว/ขาวโพดเมล็ดพันธุ

               อยางเขมขน กับระบบเกษตรทางเลือกอื่น จะใช 2 วิธี คือ 1) การคํานวณ cost และ return และ 2) การ

               คํานวณปริมาณการปลดปลอย GHGs จากการเผาเศษซากวัสดุทางการเกษตร โดยที่ ทางเลือกของการใช

               ประโยชนที่จะแนะนําวาเกษตรกรควรปฏิบัติ คือ ไดผลตอบแทนสูงที่สุด และ ปลดปลอย GHG ต่ําที่สุด




               3.2 ขั้นตอนการวิจัย

                    3.2.1 ทบทวนวรรณกรรม กําหนดพื้นที่ศึกษา และ กลุมตัวอยาง
               ขั้นตอนที่ 1 ทบทวนวรรณกรรม และศึกษาถึงชนิด ประเภท และของตัวแปร ของขอมูลที่จําเปนตองใช

               รวมถึงนโยบายทั้งในและตางประเทศ

               ขั้นตอนที่ 2 เลือกพื้นที่ศึกษา โดยพิจารณาจากพื้นที่ลาดสูงที่มีการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว และขาวโพดเมล็ด

               พันธุ และเกษตรผสมผสาน จํานวนมาก ในการศึกษานี้ไดเลือกพื้นที่ลุมน้ําแมแจม จังหวัดเชียงใหม เปนพื้นที่


               ศึกษา ดังแสดงขอบเขตในรูปที่ 3-1
                                                                                                       24
   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60