Page 46 -
P. 46

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





               ตอปริมาณน้ําทาและตะกอนของลุมน้ําเชิงพื้นที่ รวมทั้งไดจําลองสถานการณการใชประโยชนที่ดินและการ

               จัดการที่ดิน เพื่อทํานายผลการประเมินน้ําทาและตะกอน การศึกษาของ Tripathi et al. (2003) ใช

               แบบจําลอง SWAT เพื่อประเมินปริมาณน้ําทาและตะกอน เพื่อจัดลําดับความเสี่ยงของลุมน้ํา และประเมินผล

               ความสําเร็จของแนวทางการจัดการลุมน้ํา เปนตน


               2.5 การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศกับผลผลิตทางการเกษตรในประเทศไทย

                       ศุภกร ชินวรรโณ (2549) ไดจัดทํารายงานการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทยใน

               อนาคต: ผลสรุปจากการจําลองสถานการณ อนาคตโดยแบบจําลองทางคณิตศาสตร Conformal Cubic

               Atmospheric Model (CCAM) ไดผลสรุปวา ทิศทางและแนวโนมของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศใน

               ประเทศไทย จากการจําลองสถานการณในระยะยาวภายใตเงื่อนไขที่ปริมาณกาซคารบอนไดออกไซด ซึ่งเปน

               กาซเรือนกระจกที่สําคัญในบรรยากาศเพิ่มสูงขึ้นเปนหนึ่งเทาครึ่งและสองเทาของปจจุบันนั้น จะเปนไปใน

               ทิศทางที่มีฝนมากขึ้นในเกือบทุกภาคของประเทศไทย สวนอุณหภูมิสูงสุดและต่ําสุดในประเทศไทยจะไม

               เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมมากนักอาจเพิ่มสูงขึ้นหรือลดลงประมาณ 1-2ºC แตการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิที่

               สําคัญประการหนึ่งคือจํานวนวันที่อากาศเย็นจะลดลงอยางเห็นไดชัด และในทางกลับกัน จํานวนวันที่อากาศ

               รอนก็จะเพิ่มขึ้นมากเชนกัน ซึ่งหากจะกลาวในอีกนัยหนึ่งก็คือ แมวาประเทศไทยโดยเฉลี่ยแลวจะไมรอนขึ้น

               มากนัก แตจะรอนนานขึ้นกวาเดิมมาก ทั้งนี้เพราะฤดูหนาวในประเทศไทยจะสั้นลงในขณะที่ฤดูรอนจะยาวขึ้น

               กวาเดิมอยางเห็นไดชัด



                       สหัสชัย คงทน และคณะ (2547) ศึกษาผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลกตอการผลิต

               ขาวโพด ออยและมันสําปะหลัง ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย: พื้นที่ศึกษา จังหวัดขอนแกน

               ขั้นตอนการศึกษา คือ การนําขอมูลภูมิอากาศรายวันที่ไดจากแบบจําลองภูมิอากาศ (CCAM) จากสถาบัน

               CSIRO ทําการถายเทขอมูลลง ณ จุดที่ครอบคลุมพื้นที่ศึกษา แลวใชเปนฐานในการสรางคาภูมิอากาศรายวัน

               เฉลี่ยระยะยาว 30 ป ในชวงปคริสตศักราชตาง ๆ คือ 1980 – 1989, 2040 – 2049, และ 2066 - 2075 โดย

               ในชวงปดังกลาวจะเปนตัวแทนสภาวะของคารบอนไดออกไซด 1 เทา 1.5 เทาและ 2.0 เทา ตามลําดับ คาที่ได

               จะถูกนํามาเปนขอมูลนําเขาแบบจําลองการปลูกพืชเพื่อทําการจําลองการเจริญเติบโตและผลผลิต โดยใช

               แบบจําลอง CERES Maize ของขาวโพด GUMCAS ของมันสําปะหลัง และ CANEGRO ของออย ผลการศึกษา

               พบวา การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศทําใหผลผลิตของขาวโพดและออยเพิ่มขึ้น แตผลผลิตของมัน

               สําปะหลังลดลง การใสปุยในขาวโพดสามารถชวยลดการแปรปรวนจากผลกระทบนี้ได และยังทําใหขาวโพด

               ออกดอกเร็วขึ้น 2 - 4 วัน และสุกแกเร็วขึ้น 3 – 10 วัน ชวงเวลาการพัฒนาของออยจะสั้นลง เมื่อ

               คารบอนไดออกไซด เพิ่มขึ้นอยางไรก็ตามมวลชีวภาพที่ระยะใบที่ 14 เพิ่มขึ้นเพียงเล็กนอย เปนที่นาสังเกตวา

                                                                                                       15
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51