Page 38 -
P. 38

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





               โรงงานผลิตอาหารสัตวในประเทศ ซึ่งแนวโนมของความตองการใชขาวโพดเลี้ยงสัตวในประเทศไทยมีทิศทาง

               เพิ่มขึ้น เนื่องจากจํานวนประชากรสัตว เชน ไกเนื้อ ไกไข โคนม เปนตน มีจํานวนเพิ่มมากขึ้นในทุกๆ ป ซึ่งการ

               เพิ่มขึ้นของปริมาณประชากรสัตวมีอัตราการขยายตัวมากกวาอัตราการ ขยายตัวของปริมาณการผลิตขาวโพด

               เลี้ยงสัตว จึงสงผลใหในปจจุบันปริมาณการผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตวไมเพียงพอตอความ ตองการใช

               ภายในประเทศ ถึงแมวาเนื้อที่การเพาะปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวและปริมาณผลผลิตจะเพิ่มขึ้นก็ตาม

               ขอเสนอแนะยุทธศาสตรขาวโพดเลี้ยงสัตวไทย ภายใตกรอบ AEC ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน




                       1. เพิ่มปริมาณผลผลิตตอไร



                       1.1 ปรับเปลี่ยนชวงเวลาการปลูกขาวโพด หรือการปลูกขาวโพดเปนพืชที่สองหลังพืชอายุสั้น เพื่อเพิ่ม

               คุณภาพผลผลิต ลดการเกิดสารอะฟลาทอกซิน และชวยลดความเสี่ยงจากฝนทิ้งชวง รวมทั้งการวิจัยและ

               พัฒนาพันธุขาวโพดที่เลื่อนฤดูการปลูก ใหมีปริมาณการผลิตเพิ่มขึ้น พัฒนาบุคลากรดานการวิจัยใหมีความ

               เชี่ยวชาญมากขึ้นและสงเสริมนักวิจัยรุนใหมเพื่อใหการพัฒนาเปนไปอยางตอเนื่อง


                       1.2 สงเสริมการปลูกขาวโพดในนาชวงฤดูแลง เพื่อใหปลอดสารอะฟลาทอกซิน เนื่องจากเกษตรกรไม

               จําเปนตองเรงเก็บเกี่ยว สามารถปลอยขาวโพดใหแหงในแปลงได และเมื่อพอคาคนกลางรับซื้อขาวโพดไปแลว

               ก็จะทําใหมีแสงแดดเพียงพอตอการลดความชื้นใหลงอยูในระดับที่ปลอดภัยไดทันเวลา


                       2. กําหนดมาตรฐานขาวโพดเลี้ยงสัตวที่นําเขาจากประเทศเพื่อนบาน


                       กําหนดมาตรฐานการนําเขาขาวโพดจากตางประเทศ ทั้งควบคุมคุณภาพและการปนเปอนสารพิษอะฟ

               ลาทอกซินในขาวโพดเมล็ดแหงที่เปน วัตถุดิบอาหารสัตวในประเทศและคุมครองผูบริโภคในประเทศจาก


               ขาวโพดที่นําเขา รวมทั้งกําหนดวิธีการตรวจสอบที่ชัดเจน


                       ประเด็นที่ตองใหความสําคัญคือ พื้นที่ที่เหมาะสมที่จะใชปลูก หากพิจารณาถึงเพียงแตศักยภาพของ

               การสงออก อาจทําใหเกิดปญหาในเรื่องของความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติในหลายๆ พื้นที่ ที่

               ประเทศไทยประสบอยู ณ ปจจุบัน รวมถึง เรื่องปญหาหมอกควันที่ยังหาทางแกปญหาไมได













                                                                                                         7
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43