Page 33 -
P. 33

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





               ถัดไปบอยครั้งที่เกษตรกรใชการเผาหลังจากการเก็บผลผลิต เนื่องจากการเขาถึงพื้นที่คอนขางลําบากและไม

               สามารถใชเครื่องจักรกล ประกอบกับพื้นที่ทําการเกษตรคอนขางหางไกลและเสนทางคมนาคมไมสะดวก

               เหลานี้กลายเปนคาลงทุนของเกษตรกร รวมทั้งการเผาซึ่งเกษตรกรสวนมากเลือกที่จะใชวิธีนี้ เนื่องจากรวดเร็ว

               และประหยัดที่สุด แตวิธีการดังกลาวกอใหเกิดปญหาหมอกควันและกลายเปนปญหาสิ่งแวดลอมที่หลาย

               หนวยงานตองเขามารวมมือในการบริหารจัดการ นอกจากนี้การปลูกพืชเชิงเดี่ยวเชนขาวโพดบนพื้นที่สูง

               กอใหเกิดปญหาดานสิ่งแวดลอมหลายประการ รวมทั้งผลผลิตที่ตกต่ําเนื่องจากการขาดความอุดมสมบูรณของ

               ดิน กอรปกับความแปรปรวนของสภาพอากาศที่เกิดขึ้น งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงคที่จะทําการประเมิน

               ประสิทธิภาพการใชประโยชนที่ดินรูปแบบตางๆ ตลอดจนการประเมินผลผลิตขาวโพดเมล็ดพันธุ/ขาวโพดเลี้ยง

               สัตวภายใตการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และประเมินปริมาณน้ําทาและตะกอนภายใตการใชประโยชน

               ที่ดินที่แตกตางกันและภายใตการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในอนาคตในพื้นที่ลุมน้ําแมแจมเพื่อนําไปสูการ

               จัดการการใชประโยชนที่ดินใหยั่งยืนและมุงเนนสนับสนุนการจัดทํายุทธศาสตรการเปลี่ยนแปลงสภาพ

               ภูมิอากาศดานเกษตรตอไป




               1.2 วัตถุประสงค

                       1. เพื่อประเมินประสิทธิภาพการใชประโยชนที่ดินในการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว/ขาวโพดเมล็ดพันธุ

               และเกษตรผสมผสาน โดยการประเมินผลผลิต ตนทุนและผลตอบแทน และการปลดปลอยกาซเรือนกระจก

               จากการเผาเศษซากวัสดุทางการเกษตร ในสถานการณปจจุบัน



                       2. เพื่อประมาณการผลผลิตของขาวโพดเลี้ยงสัตว/ขาวโพดเมล็ดพันธุ และเกษตรผสมผสาน การชะ

               ลางพังทลายของดิน และการสูญเสียธาตุอาหาร (ไนโตรเจน และฟอสฟอรัส) ของแตละรูปแบบการใช

               ประโยชนที่ดิน ภายใตสถานการณสภาพภูมิอากาศในอนาคต ดวยแบบจําลอง EPIC


                       3. เพื่อประเมินปริมาณน้ําทาและตะกอน ของแตละรูปแบบการใชประโยชนที่ดิน ภายใตสถานการณ

               สภาพภูมิอากาศในอนาคต ดวยแบบจําลอง SWAT


                       4. เพื่อวิเคราะหนโยบายของรัฐบาลถึงผลกระทบของแตละนโยบายตอเกษตรกรในแตละรูปแบบการ

               ใชประโยชนที่ดิน เพื่อนําไปสูขอเสนอแนะทางนโยบายตอไป










                                                                                                         2
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38