Page 32 -
P. 32

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





                                                         บทที่ 1



                                                          บทนํา


               1.1 ที่มาและความสําคัญ

                       ลุมน้ําแมแจม ครอบคลุมพื้นที่ 4 อําเภอ 16 ตําบล ของจังหวัดเชียงใหม โดยมีพื้นที่รวม 4,114 ตร.

               กม. เปนลุมน้ําสาขาน้ําแมปงที่ใหญที่สุด คิดเปนพื้นที่ 17.61% ของพื้นที่ลุมน้ําปง ปริมาณน้ําทาไหลลงสูน้ําปง

               คิดเปน 19.62% ปาตนกําเนิดน้ําแมแจมมีพื้นที่รวม 2,016.69 ตร.กม. พื้นที่สวนใหญอยูในเขตอําเภอแมแจม

               และอําเภอกัลยานิวัฒนา ซึ่งปกคลุมไปดวยปาไม

                       ประชากรสวนใหญเปนชาวไทยภูเขาเผากะเหรี่ยง ลั๊วะ มง ในอดีตประชากร สวนใหญมีวิธีชีวิตที่พึ่งพา

               ธรรมชาติที่สอดคลองกับแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืน แตในชวง 10 ปที่ผานมา แนวคิดการผลิตเพื่อตอบสนองตอ

               ตลาดและระบบทุนนิยมพรอมกับการพัฒนาดานวัตถุและโครงสรางพื้นฐาน ทําใหวิถีชีวิตคนลุมน้ําแมแจมเริ่ม

               เปลี่ยนแปลงสูการผลิตเพื่อการตลาด ทรัพยากรธรรมชาติกลายเปนเพียงปจจัยการผลิต เพื่อเพิ่มรายได

               ตอบสนองตอความตองการบริโภคนิยมที่เพิ่มขึ้น นําไปสูการใชทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยูอยางเขมขน ปญหาที่

               ตามมาคือปญหาตนทุนการผลิตที่เพิ่มสูงขึ้นทุกป และเปนสาเหตุหลักที่ทําใหเกษตรกรเกิดภาวะหนี้สิน ดิน

               เสื่อมคุณภาพ การแผวถางพื้นที่ลาดชัน ใชพื้นที่ซ้ําซาก พรอมกับปุยเคมีจํานวนมากเพื่อปลูกพืชเชิงเดี่ยว

               ปญหาการชะลางพังทลายของหนาดิน น้ําปาไหลหลากและดินถลม ปญหาการใชสารเคมีอยางไมถูกวิธีและมี

               ผลตกคางสูรางกาย ปญหาการบุกรุกแผวถางปาไม เนื่องจากเมื่อดินเสื่อม ตนทุนการผลิตในที่เดิมสูง หรือไมคุม

               ทุน เกษตรกรจะใชวิธีการขยายพื้นที่ปลูกพืชเศรษฐกิจเชิงเดี่ยวโดยบุกรุกแผวถางปาที่สภาพดินยังคงอุดม

               สมบูรณ พื้นที่ปาไมเฉพาะอําเภอแมแจมถูกบุกรุกแผวถางปละ ประมาณ 10,000 ไร (มูลนิธิรักษไท:

               http://climatechange-raksthai.org/natural_detail.php?)

                       ขาวโพด (Zea may L.) วงศ Gramineae ชื่อสามัญ Maiz, Corn เปนพืชใบเลี้ยงเดี่ยววงศเดียวกับ

               หญา ขาวโพดกลายเปนสินคาทางการเกษตรที่สําคัญ เนื่องจากขาวโพดสามารถนําไปใชประโยชนไดหลาย

               อยางและเมื่ออุตสาหกรรมเนื้อสัตวเติบโตอยางรวดเร็ว ขาวโพดจึงเปนวัตถุดิบในการผลิตอาหารสัตวที่สําคัญ

               แหลงพื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวในประเทศไทยที่สําคัญคือ เพชรบูรณ และนครราชสีมา แตจากผลผลิตที่ไม

               เพียงพอกับความตองการของภาคอุตสาหกรรม ขาวโพดซึ่งเปนพืชทนแลงจึงถูกนําไปปลูกตามพื้นที่เทือกเขา

               หลายแหงในประเทศไทย และหนึ่งในพื้นที่ที่เปลี่ยนมาปลูกขาวโพดอยางมากคือลุมน้ําแมแจม การปลูกพืช

               เชิงเดี่ยว โดยเฉพาะขาวโพดที่เกษตรกรปลูกบนพื้นที่สูง ซึ่งตามธรรมชาติพื้นที่ดังกลาวควรเปนพื้นที่ตนน้ําลํา

               ธาร แตจากความกดดานเศรษฐกิจและประชาชนที่อยูบนพื้นที่สูงไมมีทางเลือกมากนั้น ขาวโพดจึงกลายเปน

               พืชที่ถูกเลือกในการเพาะปลูกและขยายพื้นที่เพิ่มมากขึ้น ในการปลูกและการเตรียมดินสําหรับการปลูกรอบ

                                                                                                         1
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37