Page 128 -
P. 128

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                        บทที่  3 พืชเศรษฐกิจที่สามารถนําไปพัฒนาสูํ Bioeconomy



                       มีการนําชานอ๎อยไปสกัดและใช๎เป็นตัวดูดซับกําจัดโลหะหนัก (วิลาสินี ศรีมุงคุณ, 2548)และผลิตเป็นเรซิน

               ชานอ๎อย (เบญจมาภรณ๑ ชํากรม, 2546; วรรณภา นิติมงคลชัย, 2546) นอกเหนือจากนี้เมื่อนําชานอ๎อยไปเผาและ
               แยกเถ๎าลอยชานอ๎อยกับเถ๎าหนักชานอ๎อยออกมา เถ๎าสามารถนําไปใช๎ประโยชน๑ได๎ เชํน เถ๎าลอยชานอ๎อยสามารถ

               ใช๎เป็นตัวดูดซับซิลิกา (พิณเทพ เศรษฐโภคิน, 2553; ไพทิพย๑ ธีรเวชญาณ, 2552) ซีโอไลต๑ (จุฑาทิพย๑ เพชรอินทร๑,

               2547;  เพ็ญพร ฉายะวาณิชย๑,  2551;  วิภารัตน๑ นิสาภัย,  2554) ผสมปูนฉาบคอนกรีต (วรพจน๑ พนมพรพานิช,
               2547;  สุเมธ เตชะกุลวิโรจน๑,  2546) ซีเมนต๑ (กฤษณ๑ จารุทะวัย,  2545) ปอซโซลาน (ณพงศธร ลิขิตศรีไพบูลย๑,

               2548)  และวัสดุจีโอพอลิเมอร๑ (สําเริง รักซ๎อน,  2553)  สํวนเถ๎าหนักชานอ๎อยสามารถนําไปใช๎กําจัดสีในน้ําเชื่อม
               (ไพทิพย๑ ธีรเวชญาณ, 2553) และผลิตเป็นถํานกัมมันต๑ได๎ (ปารินดา สุขสบาย, 2555)

                         กากน้ําตาล เป็นของเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมน้ําตาลที่ มีน้ําตาลเป็นองค๑ประกอบอยูํมาก สํวนใหญํ

               มักนํามาใช๎เป็นแหลํงคาร๑บอนในกระบวนการหมักเพื่อผลิตสารตํางๆ เชํน เอทานอล (Gasmalla  MAA,  2012;

               Quintero, Montoya, Sánchez, Giraldo, & Cardona, 2008; ปริษฎางค๑ วงศ๑ปราชญ๑, 2547; อภิชาติ บุญทา

               วัน, 2549) บิวทานอล (Ni, Wang, & Sun, 2012) ไฮโดรเจน (อลิศรา เรืองแสง, 2553) เชื้อเพลิงชีวภาพ (มรกต

               ตันติเจริญ, 2552) ชีวมวล (ปิยดา ดิศวัฒน๑, 2540; วิชชุดา ศิริวงศ๑, 2549) สารละลายอินทรีย๑ (สุนทร กาญจนทวี,

               2538) กรดแลคติก (Adsul, Varma, & Gokhale, 2007; Calabia & Tokiwa, 2007; Sikder, Chakraborty,

               Sharma, & Drioli, 2014; Timbuntam, Sriroth, & Tokiwa, 2006) กรดซัคซินิก (Liu et al., 2008) กลีเซ

               อรอล (Kalle GP, 1985) ไบโอไฮโดรคาร๑บอน เชํน limonene และ Bisabolene (Davies, Work, Beliaev, &

               Posewitz, 2014) และยีสต๑ขนมปัง (ปิยดา ดิศวัฒน๑, 2540)


                         สําหรับใบอ๎อยและไขอ๎อย สามารถนําไปผลิตเป็นกระดาษได๎ (บุษรา สร๎อยระย๎า,  2551a,  2551b;

               วิชัย หฤทัยธนาสันติ์,  2551)  และผลิตเป็นสารหลํอลื่นในการบวนการอัดรีดพลาสติก (ศิริลักษณ๑ นิวิฐจรรยงค๑,

               ม.ป.ป.) ตามลําดับ



                   5)  ข๎าวโพด

                       เมล็ดข๎าวโพด สามารถนําไปใช๎บริโภคโดยตรง เชํน ข๎าวโพดกระป๋อง น้ํานมข๎าวโพด (วรนุช ครุฑโภไคย,

               2526; วิษณุลักษณ๑ คํายอง, 2550) โยเกิร๑ตน้ํานมข๎าวโพด (จิรากร ประเสริฐชีวะ, 2546; นวลนภา อัคสินธวังกูร,
               2546; วิเวียนโตโรและตรี อินดรารินี, 2548) เครื่องดื่มโปรตีนจากคัพภะข๎าวโพด (พรนิภา แจ๎งชัด, 2547) พุดดิ้ง

               ข๎าวโพด (สลิลดา เศรษฐา,  2558) และยังสามารถนําไปแปรรูปตํอเป็น แปูงข๎าวโพด (นิพัฒน๑ ลิ้มสงวน,  2552)

               และน้ํามันข๎าวโพด ใช๎คัพภะแทนหางนม (วรรณพร จิตจําเริญ, 2547) สามารถสกัดสารจากเมล็ดข๎าวโพดได๎ เชํน

               ผงสีธรรมชาติ (รัตนา มํวงรัตน๑,  2557)  ซอร๑บิทอล (กองบริการอุตสาหกรรม กรมสํงเสริมอุตสาหกรรม,  2521)


                                                             108
   123   124   125   126   127   128   129   130   131   132   133