Page 125 -
P. 125
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
บทที่ 3 พืชเศรษฐกิจที่สามารถนําไปพัฒนาสูํ Bioeconomy
แปูงมันยังสามารถนําไปใช๎เป็นแหลํงคาร๑บอนในกระบวนการหมักเพื่อผลิตสารตํางๆ เชํน กรดแลคติก
(Bomrungnok, Sonomoto, Pinitglang, & Wongwicharn, 2012; John, Nampoothiri, & Pandey, 2007;
Quintero M, Acosta C, MejÍA G, RÍOs E, & Torres L, 2012; Xiaodong et al., 1997; จิตต๑เรขา ทองมณี,
2550; ชยาภรณ๑ สมานสรณคุณ, 2554) เอทานอล ("Ethanol Fuel Production from Cassava as a
Substitute for Gasoline," 2007; Nitayavardhana, Rakshit, Grewell, van Leeuwen, & Khanal, 2008;
ธีรภัทร ศรีนรคุตร, 2547; รัฐพงศ๑ ปกแก๎ว, 2545; เศรษฐวัชร ฉ่ําศาสตร๑, 2557; อาคม หมูํเก็ม, 2547) บิวทานอล
และแอซิโตน (จิรกานต๑ เมืองนาโพธิ์, 2529; สุนทร กาญจนทวี, 2555; เสรี จันทรโสภณ, 2531) กรดซิตริก
(อาภรณ๑ วงษ๑วิจารณ๑, ม.ป.ป.) กลีเซอรอล (Tittabutr, Payakapong, Teaumroong, & Boonkerd, 2005;
Jianan Zhang, Liu, Xie, Wang, & Sun, 2002) เอนไซม๑อัลฟาอะไมเลส (ภาวิณี วงษ๑ทับทิม, 2555) มีเทน
(สุรีลักษณ๑ รอดทอง, 2557) ก๏าซไฮโดรเจน (Luo, Xie, Zou, Wang, & Zhou, 2010; จินตนา ชอบวิจักษณ๑,
2543) ไฮโดรคาร๑บอนและไอโซพรีน (Ezinkwo, Tretjakov, Talyshinky, Ilolov, & Mutombo, 2013) สารลด
แรงตึงผิว (Nitschke & Pastore, 2006) และโปรตีนเซลล๑เดียว (คณิต วิชิตพันธุ๑, 2537)
นอกจากนี้ หัวมันยังสามารถนําไปสกัดเพื่อผลิตสารสีและสารลดคลอเรสเตอรอล (ชยุต ขรุรัมย๑, 2557b)
ทั้งยังใช๎เป็นสารฟอกสี (ชนิกานต๑ พรหมสิงหกุล, 2554) และผลิตภัณฑ๑โปรตีนสูงสําหรับเป็นอาหารสัตว๑
(Chumkhunthod, 2001) ได๎อีกด๎วย
2.2) กากมัน สํวนใหญํจะนําไปใช๎เป็นอาหารสัตว๑ (ยุวเรศ เรืองพานิช, 2551; สุทิศา เข็มผะกา, 2553; เสก
สม อาตมางกูร, 2550) เป็นวัสดุเพาะเลี้ยงเห็ดนางรมและเห็ดเป๋าฮื้อ (วรลักษณ๑ พฤฒิภิญโญ, 2533) แล๎ว กากมัน
สามารถนําไปผลิตสารตํางๆ ในกระบวนการหมักได๎ เชํน น้ําตาลรีดิวซ๑ (ภูษิต สายแวว, 2555; สุนีย๑ โชตินีรนาท,
2539) น้ําตาลกลูโคส (จิรวรรณ อภิรักษาการ, 2540; พักตร๑ประไพ ประจําเมือง, 2546) ไคตินโอลิโกเมอร๑
(เดือนเพ็ญ อาจไธสง, 2550) เอทานอล (ชลดา ซื่อสัตย๑, 2546; ตีรณันท๑ เอกสมทราเมษฐ๑, 2551) กรดซิตริก
(กิตติกานท๑ สุขวาณิชย๑, 2554; คงศักดิ์ ตั้งปนิธานดี, 2541; จิราภรณ๑ โลํห๑วงศ๑วัฒน, 2525; สินีนาถ เจียมอนุกูลกิจ,
2539; สุจิมา รักษาศีล, 2540) กรดโคจิก (อภิชญา ทองทับ, 2548) แซนแทนกัม (ธันยาภรณ๑ นาวินวรรณ, 2542;
ปุณยนุช วชิรวรรณกุล, 2546; สายศิริ ศิลป์วุฒิ, 2545) โปรตีนเซลล๑เดียว (นันตภัทร บุญยะกมล, 2546; สิริลักษณ๑
เกิดคล๎าย, 2540) ก๏าซชีวภาพ (กิตติกานท๑ สุขวาณิชย๑, 2554; พงษ๑ธร สิทธิรัตนสกุล, 2553) มีเทน (สุรีลักษณ๑
รอดทอง, 2557) เชื้อเพลิงแอลกอฮอล๑แข็ง (สิทธิศักดิ์ อุปริวงศ๑, 2547) เอนไซม๑อะไมเลส (ธีระพงษ๑ สุขสวําง,
2550) และเอนไซม๑ไซโคลเดกซ๑ทรินกลูโคซิลทรานเฟอเรส (พิชญา ภูํพนิตพันธ๑, 2544) เป็นต๎น
2.3) ต๎นมัน สามารถนําไปใช๎เป็นอาหารสัตว๑ (พีระพร เสํงถิน, 2552) ทําปุ๋ยหมัก (เพ็ญปภา เฟื่องอักษร,
2553) ผลิตเรซินแลกเปลี่ยนไอออน (ชัชฎาพร องอาจ, 2545) รวมถึงนําไปผลิตแผํนไม๎อัดและแผํนผนังไม๎เทียมได๎
(ณรงค๑ เพ็งปรีชา, 2522; ผกามาศ ชูสิทธิ์, 2558)
105