Page 123 -
P. 123

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                        บทที่  3 พืชเศรษฐกิจที่สามารถนําไปพัฒนาสูํ Bioeconomy




                              2547) สารให๎ความข๎นหนืด (นุชจรา แซํตั้ง, 2545) แอลกอฮอล๑จากข๎าวสวย (ศิริลักษณ๑ สันพา,
                              2544; เศรษฐวัชร ฉ่ําศาสตร๑, 2553) แปูงฝุุนจากข๎าว (วนิดา พฤกษธัมมโกวิท, 2545) ผลิตภัณฑ๑

                              บํารุงผิวหน๎า(จิตติ ทําไว, 2557) แผํนเจลห๎ามเลือดและฟองน้ําห๎ามเลือด

                                         -  รําข๎าวสามารถแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ๑ได๎หลากหลายโดยเฉพาะเครื่องสําอางค๑
                              (พรทิพย๑ นิมมานนิตย๑, 2548) เชํน ลิปกลอสจากไขรําข๎าว (จันทิมา หอม, 2553; ฉัตรสมร จิตร

                              วิโรจน๑, 2548) ลีฟออนบํารุงผม (สุพัฒน๑ชลี ทรัพย๑เจริญ, 2550) สบูํเหลว(ภาณุ อุปถัมภ๑, 2544)

                              และโลชันทําความสะอาดเครื่องสําอางค๑ (ธัญลักษณ๑ ศรีสําราญ, 2555)

                                         -  ผลิตภัณฑ๑แปรรูปจากแกลบข๎าว เชํน นาโนซิลิกา (นิทัศน๑ ทิพยโสดนัยนา,

                              2557) ครีมขัดผิว (เจษฎาภรณ๑ เรืองมะเริง,  2549) สารดูดความชื้น (ภาวิกา วงศ๑แก๎ว,  2547)
                              ซีเมนต๑บล็อก (กิตติภพ ไชยปัญหา,  2552;  ไพศาล ศุภิรัตนกุล,  2553) ฉนวนกันความร๎อน

                              (นิทัศน๑ ทิพยโสตนัยนา, 2554) และเถ๎าดําที่ใช๎เติมวัสดุพอลิเมอร๑ (ยุพาพร รักสกุลพิวัฒน๑, 2546)

                                         -  ผลิตภัณฑ๑แปรรูปจากฟางข๎าวเชํน แทํงเชื้อเพลิง (เจนศักดิ์ เอกบูรณะวัฒน๑,
                              2556) ผลิตก๏าซชีวภาพ (พลกฤษณ๑ คุ๎มกล่ํา, 2557; พิญาณี แสงศรี, 2557) พลังงานไฟฟูา (เจน

                              ศักดิ์ เอกบูรณะวัฒน๑, 2556) บรรจุภัณฑ๑ (เทวรัตน๑ ตรีอํานรรค, 2558) บล็อกปูนซีเมนต๑ (คําชาย

                              พันทวงค๑, 2557) วัสดุประกอบอาคาร (ชูเกียรติ อนันต๑เวทยานนท๑, 2555) ฟองน้ําใยธรรมชาติ

                              (สุวรรณา ละม๎ายอินทร๑, 2551) ปุ๋ยหมัก (บุปผา คําวัน, 2545; ประกาศิต อินทรสําอางค๑, 2549)

                              เป็นอาหารสําหรับปลูกเห็ด (เสกสรร สีหวงษ๑, 2549) กระดาษฟางข๎าวเพื่อยืดอายุการเก็บทุเรียน
                              (อุดมลักษณ๑ สุขอัตตะ, 2545) และกระดาษฟางข๎าวเพื่อดูดซับเอทิลีน (ชัยพร สามพุํมพวง, 2552)

                                         -  ผลิตภัณฑ๑แปรรูปจากกากรําข๎าว เชํน ใช๎เป็นตัวดูดซับสารให๎ความชุํมชื้นใน

                              เครื่องสําอางค๑ (สรรค๑ชัย เหลือจันทร๑, 2557) สกัดเอนไซม๑ไลเปส (กรกช ฮามสุโพธิ์, 2540)
                                         -  ใบข๎าว มีการนําไปใช๎ผลิตสีจากธรรมชาติ (ขนิจศากรณ๑ เสรีสงแสง, 2553) และ

                              ซังข๎าว มีการนําไปผลิตเป็นเส๎นด๎าย (อัชชา หัทยานานนท๑, 2558)

                         ผลิตภัณฑ๑ที่ได๎จากการสกัดสารจากข๎าว ยกตัวอยํางเชํน

                                         -  การสกัดสารจากเมล็ดข๎าว  เชํน แอนโทไซยานิน (ชํอลัดดา เที่ยงพุก,  2559)

                              แกมมาอะมิโนบิวทิริคแอซิด (กาบา) (เมธาวี อนะวัชกุล,  2551) เอนไซม๑บีเทนอัลดีไฮด๑ไฮโดร
                              จีเนส (นลวัฒน๑ บุญญาลัย, 2555) อนุพันธุ๑ไซริล (สมชาย สุริยะศิริบุตร, 2544) มอลโทเด็กซ๑ทริน

                              (รุํงนภา ประดิษฐ๑พงษ๑, 2539) ผลิตภัณฑ๑เสริมอาหาร (ไพบูลย๑ ธรรมรัตน๑วาสิก, 2554; เรวดี มี

                              สัตย๑, 2552)





                                                             103
   118   119   120   121   122   123   124   125   126   127   128