Page 126 -
P. 126
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
บทที่ 3 พืชเศรษฐกิจที่สามารถนําไปพัฒนาสูํ Bioeconomy
2.4) ใบ มีปริมาณแทนนินสูง (ภรรทรทร ภูรีศรี; ฤทัยรัตน๑ น๎อยคนดี, 2551) สามารถนําไปใช๎เป็นอาหาร
สัตว๑ (กิตติศักดิ์ คําพะทา, 2548; ปริศนา อัครพงษ๑สวัสดิ์, 2551) ใช๎เพาะเลี้ยงไหมอีรี่ (Philosamia ricini B)
(ศิวิลัย สิริมังครารัตน๑, 2547) และสกัดโปรตีนเข๎มข๎นได๎ (ภรณี ศรีเสาวลักษณ๑, 2540)
2.5) น้ําทิ้งและตะกอนจากโรงงานแปูงมัน สามารถนําไปผลิตพลังงานในรูปตํางๆ เชํน ก๏าซชีวภาพ
(พรพิมล พันธุสุนทร, 2558) ก๏าซไฮโดรเจนชีวภาพ (น้ําทิพย๑ เดชแพร, 2555; บุษกร กาญจนาคาร, 2555)
พลังงานไฟฟูา (วิชิต ไชยเวศ, 2555) รวมถึงนําไปผลิตพอลิเมอร๑พอลิไฮดรอกซีแอลคาโนเอต (PHA) (สุขสมาน สัง
โยคะ, 2555) และโปรตีนเซลล๑เดียวได๎ (พรรณวิภา แพงศรี, 2547)
2.6) น้ํายาง สามารถนําไปสกัดเอนไซม๑ลินามาเรสได๎ (ประชุมพร คงเสรี, 2552; อุษา ย๎อนโคกสูง, 2551)
2.7) เหง๎า สามารถนําไปผลิตถํานอัดแทํง (กิตติพงษ๑ ลาลุน, 2554; จุฑามาศ บุษราคัมวดี, 2547) และ
เอทานอลได๎ (พรรณวิไล กิ่งสุวรรณรัตน๑, 2545)
3) ยางพารา
ผลิตภัณฑ๑ที่ได๎จากยางพาราสํวนใหญํได๎แกํ น้ํายางและไม๎ยาง โดย น้ํายาง นอกจากสามารถนําไปผลิตเป็น
ยางพารา และใช๎เคลือบดอกไม๎ประดิษฐ๑ (กรรณิการ๑ สถาปิตานนท๑, 2541) แล๎วยังสามารถนํายางพาราไปผลิตเป็น
ผลิตภัณฑ๑ยางตํางๆ เชํนกระเบื้องยางพารา (วิหาร ดีปัญญา, 2558) แผํนยางรองสระน้ํา (ประทุม วงษ๑พานิช,
2537) บล็อกยางปูพื้น (พายับ นามประเสริฐ, 2545; วรุณศิริ จักรบุตร, 2555) แผํนรองกระแทก (สุรชาติ สินวรณ๑,
2554a) วัสดุดาดคลองสํงน้ํา (สุรชาติ สินวรณ๑, 2554b) ถุงมือ (สุรพล มะลิยา, 2552)ผลิตภัณฑ๑ทันตกรรม (ไชย
รัตน๑ เฉลิมรัตนโรจน๑, 2551) ฉนวนไฟฟูาแรงสูง (ฉัตรชัย กันยาวุธ, 2552) นอกจากนี้ยังสามารถนํายางไปผสมกับ
วัสดุตํางๆ เชํน แอสฟัลคอนกรีต (ปัณณวัฒน๑ ปรียานนท๑, 2557) คอนกรีตบล็อก (ประชุม คําพุฒ, 2551) แผํนดูด
ซับเสียง (ฤทธี หงษ๑สาคร, 2549) อิฐดินผสมยางพารา (รัฐวุฒิ รู๎แทนคุณ, 2549; วีระศักดิ์ ละอองจันทร๑, 2555)
เส๎นใยอิเล็กโทรสบันเซลลูโลสอะซิเตท (ณัฐกฤตา สุวรรณทีบ, 2558) พอลิเมอร๑ชีวภาพ (ณกัญภัทร จินดา, 2558b)
วัสดุกําบังนิวตรอน (ชญานิษฐ๑ จําปี, 2553) นอกจากนี้ยังสามารถนําไปสกัดสารตํางๆจากน้ํายางได๎ เชํน เอนไซม๑
ซีสเตอีนโปรตีเอส (ภูวดล บางรักษ๑, 2552) และ Neutral cytoplasmic phosphatase (นงพร โตวัฒนะ, 2541)
ลําต๎นและไม๎ยาง สามารถนําไปแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ๑ไม๎ตํางๆเชํน เขียงไม๎ เครื่องครัว เครื่องดนตรี
เฟอร๑นิเจอร๑ วัสดุประกอบอาคาร (ชูเกียรติ อนันต๑เวทยานนท๑, 2555) เยื่อกระดาษ (สวําง วรรณศุภผล, 2526)
และถํานไม๎ (กัญติยา สดใส, 2555; กิตติพงศ๑ กาวิน, 2555) รวมถึงนําไปผลิต ซิลิกอนคาร๑ไบด๑ (เจษฎา วรรณสินธุ๑,
2551; สุธรรม นิยมวาส, 2550) เอทานอล (Nazarpour, Abdullah, Abdullah, Motedayen, & Zamiri, 2013)
สารประกอบฟูแรน (Lignocellulosic Fibers and Wood Handbook: Renewable Materials for Today's
Environment, 2016) สารประกอบไอโซพรีน (Steinbüchel, 2003) ได๎อีกด๎วย
106