Page 130 -
P. 130
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
บทที่ 3 พืชเศรษฐกิจที่สามารถนําไปพัฒนาสูํ Bioeconomy
แดนซ๑ (Zarei, Ebrahimpour, Abdul-Hamid, Anwar, & Saari, 2012) และกลีเซอรอล (Orua O. Antia,
2011) ได๎อีกด๎วย
ทะลายปาล๑มลําต๎น และเถ๎าปาล๑มสามารถนําไปใช๎เป็นตัวผสมกับวัสดุตํางๆได๎อยํางหลากหลาย เชํน
ทะลายปาล๑มสามารถนําเส๎นใยปาล๑มไปเป็นสํวนผสมของโฟมยํอยสลายได๎ทางชีวภาพ (อังศุมา บุญไชยสุริยา,
2554) เยื่อกระดาษและกระดาษลูกฟูก (สุวพิชญ๑ ไพจิตรวโรดม, 2553) มีการนําเส๎นใยเซลลูโลสจากลําต๎นปาล๑มไป
ใช๎ผลิตพอลิเมอร๑เชิงประกอบ (นันทรัตน๑ พฤกษาพิทักษ๑, 2556) ผลิตเส๎นใยนาโนเซลลูโลส (เสาวภา โชติสุวรรณ,
2555) แผํนไม๎อัด (กฤษดา คงเดิม, 2552; กิติพงศ๑ ตั้งกิจ, 2543) และแผํนดูดซับเอทิลีน (ณัฐวดี ทองจันทร๑,
2555) รวมถึงนําเส๎นใยปาล๑มไปสกัดเป็นไซโลสได๎ (Riansa-ngawong, Suwansaard, & Prasertsan, 2015) เถ๎า
ปาล๑มสามารถนําไปใช๎เป็นสารผสมในคอนกรีต (ธีรสิทธิ์ แซํติ้ง, 2547; ศรัณย๑ อนุกูลพันธ๑, 2548; สุทธินันท๑ แอ
เดียว, 2553) ซีเมนต๑ (วันโชค เครือหงษ๑, 2555) จีโอพอลิเมอร๑ (จิรัฐิติ์ บรรจงศิริ, 2555) วัสดุปอซโซลาน (วีรชาติ
ตั้งจิรภัทร) และเป็นสารตัวเติมในยาง (ปุญญานิช อินทรพัฒน๑, 2555) รวมถึงใช๎เป็นสํวนประกอบในการทําแก๎ว
เซรามิค (ดนุพล ตันนโยภาส, 2557)ได๎อีกด๎วย
ทะลายปาล๑มยังสามารถนําไปใช๎ผลิตชีวมวลเห็ดแครง (ไซนะ มูเล็ง, 2555) และนําไปใช๎เป็นสารตั้งต๎นใน
กระบวนการหมักกรดแลคติกได๎ (Juturu & Wu, 2017; Sitompul et al., 2014; Ye, Hudari, Li, & Wu, 2014)
ลําต๎นปาล๑มสามารถนําไปผลิตไซโลสและไซลิทอล (พิชญา ภูมิภัทร, 2549)
นอกจากนี้ สํวนตํางๆของปาล๑มยังสามารถนําไปผลิตเป็นพลังงานในรูปแบบตํางๆ เชํน กะลาปาล๑ม
สามารถนําไปผลิต เชื้อเพลิงอัดแทํง (ชนะ เยี่ยงกมลสิงห๑, 2548) และน้ํามันชีวภาพ (จิราพัชร คําพิเดช, 2551)
และสกัดสารต๎านเชื้อรา (Sharip, Ariffin, Hassan, Nishida, & Shirai, 2016) ทะลายปาล๑มสามารถนําไปผลิต
ถํานกัมมันต๑ (วรรณรัก นพเจริญกุล, 2548; สาวิตรี จันทรานุรักษ๑, 2549) และเอทานอล (รัตนา ชูหวําง, 2556)
ทางใบปาล๑มใช๎ในการผลิตไฟฟูา (ศิวพล ตั้งมโนเทียนชัย, 2557) น้ําทิ้งจากโรงงานน้ํามันปาล๑ม สามารถนําไปผลิต
ก๏าซชีวภาพและไบโอดีเซล (สาวัน ตัน, 2557) และเอทานอล (Kosugi et al., 2010) เป็นต๎น
3.7 สรุปวัตถุดิบที่มีศักยภาพในการน าไปศึกษาและพัฒนาภายใต้หลักการเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ
หากพิจารณาปริมาณวัตถุดิบรํวมกับงานวิจัยที่เกี่ยวข๎องกับการนําไปใช๎ประโยชน๑ของพืชเศรษฐกิจหลักแตํ
ละชนิด จะพบวํา
- ข๎าวมีการศึกษาด๎านการนําไปใช๎ประโยชน๑เกือบทุกสํวนแล๎ว แตํจะมีฟางข๎าวที่สํวนใหญํการใช๎
ประโยชน๑ยังเป็นด๎านพลังงาน ปุ๋ย วัสดุปลูกพืช และวัสดุประกอบอาคาร ซึ่งยังมีมูลคําเพิ่มไมํสูงมากนัก ประกอบ
กับเป็นสํวนที่ไมํได๎ใช๎เป็นอาหาร จึงไมํผลกระทบตํอการแขํงขันกับอุตสาหกรรมอาหาร ฟางข๎าวจึงเป็นผลพลอยได๎
ที่นําสนใจในการพัฒนาภายใต๎หลักการเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพเป็นอยํางยิ่ง
110