Page 129 -
P. 129

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                        บทที่  3 พืชเศรษฐกิจที่สามารถนําไปพัฒนาสูํ Bioeconomy




               รวมถึงสามารถใช๎เป็นแหลํงคาร๑บอนในกระบวนการหมักเพื่อผลิตเอทิลแอลกอฮอล๑ (Quintero et al., 2008; วัช
               รา อินทุลักษณ๑,  2527) เฟอฟูรัล ("<Furfural  Formation  from  Corn  Cobs  in  a  One-Pot  Method

               Catalyzed by ZSM5.pdf>," ; Shafeeq et al., 2015) กลีเซอรอล (Jianan Zhang et al., 2002) กรดแลคติก

               (Inskeep, Taylor, & Breitzke, 1952; Okano et al., 2009; Rivas, Moldes, Domı́nguez, & Parajó, 2004)
               ได๎อีกด๎วย

                       ลําต๎นข๎าวโพด  มีการนําใช๎ประโยชน๑ เชํน แผํนใยไม๎อัดซีเมนต๑ (ผกามาศ ชูสิทธิ์,  2557)  เชื้อเพลิงเขียว

               (ปณต วิไลพล, 2547; พิสิษฏ๑ มณีโชติ, 2553; วรวุฒิ ถุงทรัพย๑, 2553) และทําเป็นข๎าวโพดหมักเพื่อใช๎เป็นอาหาร

               สัตว๑ (ประพฤติ พรหมสมบูรณ๑, 2550)

                       ซังข๎าวโพด มีการนําไปผลิตเป็นเส๎นใยพอลิพรอพิลีน (นที ศรีสวัสดิ์, 2556) จุลผลึกเซลลูโลสเพื่อใช๎ขึ้นรูป
               เม็ดยา (อภิรักษ๑ อนุรักษ๑ชนะพล, 2554) เซลลูโลสทรงกลมเพื่อใช๎เป็นสารขัดผิว(วราภรณ๑ ภูกิ่งดาว, 2555) ถํานซัง

               ข๎าวโพดใช๎ดูดซับฟอร๑มัลดีไฮด๑ในน้ําเสียจากโรงงานกระดาษ (คัทลียา เงินจั่น,  2555) ควอเทอร๑ไนซ๑ครอสลิงค๑

               เซลลูโลสสําหรับกําจัดสีในน้ําเสีย (อาสยา ปราชญาพร, 2545) ถํานกัมมันต๑ (พงษ๑ศักดิ์ โอชารส, 2539) นอกจากนี้
               ยังใช๎เป็นสารตั้งต๎นในกระบวนการหมักเพื่อผลิตสารตํางๆ เชํน  น้ํามันชีวภาพ (วรดาณ๑ มูลศรีแก๎ว,  2551) บิว

               ทานอล (วรภัทร๑ สงวนไชยไผํวงศ๑,  2558)  ไซลิทอลจากไซโลสของซังข๎าวโพด (พิลาวรรณ ไวถนอมสัตย๑,  2543)

               เฟอฟูรัล (กิตติภพ สําราญ, 2542) และเอนไซม๑เฮมิเซลลูเลส (รัตนภรณ๑ ลีสิงห๑, 2538) เป็นต๎น



                   6)  ปาล๑ม
                       สํวนประกอบของปาล๑มและของเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมน้ํามันปาล๑มที่สามารถนํามาใช๎ประโยชน๑ได๎แบํง

               ออกเป็น 7  สํวนหลักๆ คือ ผลปาล๑ม เนื้อปาล๑ม กะลาปาล๑ม ทะลายปาล๑ม ลําต๎น น้ําทิ้งจากโรงงานน้ํามันปาล๑ม

               และเถ๎าปาล๑ม
                       ผลปาล๑มและเนื้อปาล๑ม สามารถนํามาสกัดน้ํามันปาล๑มเพื่อใช๎ในการบริโภค รวมถึงกากปาล๑มหลังจากสกัด

               น้ํามันแล๎วสามารถนําไปใช๎เป็นอาหารสัตว๑ได๎ (พานิช ทินนิมิตร,  2535;  วันวิศาข๑ งามผํองใส,  2552;  สมบัติ ศรี

               จันทร๑, 2542; เสาวนิต คูประเสริฐ, 2541, 2544) กากผลปาล๑มมีการนําไปแปรรูปเป็นเยื่อกระดาษ (วิขัณฑ๑ อรรณ

               พานุรักษ๑, 2550) กากเนื้อปาล๑มสามารถนําไปใช๎เป็นวัสดุเพาะเห็ดเป๋าฮื้อ (วสันณ๑ เพชรรัตน๑, 2547)

                      นอกจากนี้ผลปาล๑ม สามารถนําไปสกัดสารจากผลปาล๑มหรือการเปลี่ยนรูปทางชีวภาพ (Bioconversion)
               เชํน พอลีไฮดรอกซีอัลคาโนเอทจากการหมักกากปาล๑มน้ํามัน (ณกัญภัทร จินดา, 2558a) การผลิตแคโรทีนและโท

               โคฟีรอลจากกากปาล๑ม (ณัฏฐา แซํกัง, 2553) การผลิต Nutrient Base (กุลวดี ตรองพาณิชย๑, 2552) ไบโอดีเซล

               (Kareem, Falokun, Balogun, Akinloye, & Omeike; Ojolo, Adelaja, & Sobamowo, 2011)แอนติออกซิ





                                                             109
   124   125   126   127   128   129   130   131   132   133   134