Page 133 -
P. 133

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                             บทที่  4 สถานภาพของเทคโนโลยีเพื่อการแปรรูปวัตถุดิบชีวมวลภายใต๎นโยบายชีวเศรษฐกิจ


                บทที่ 4 สถานภาพของเทคโนโลยีเพื่อการแปรรูปวัตถุดิบชีวมวลภายใต้นโยบายเศรษฐกิจจากฐาน
                                                           ชีวภาพ



                       การเปลี่ยนผํานจากภาวะเศรษฐกิจที่พึ่งพาพลังงานและสารเคมีจากน้ํามันปิโตรเลียมไปสูํเศรษฐกิจที่

               ขับเคลื่อนด๎วยชีวมวล หรือ เศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (Bioeconomy) นอกเหนือจากการพิจารณาแหลํงที่มาของ
               ชีวมวล (feedstock)  แลัวยังมีปัจจัยด๎านความพร๎อมของเทคโนโลยีและอุตสาหกรรมที่จะรองรับผลิตภัณฑ๑ที่

               เกิดขึ้น ในบทนี้จะได๎นําเสนอแนวทางในการขับเคลื่อนการพัฒนาเทคโนโลยีโดยสรุปจากงานวิจัยที่เกี่ยวข๎องและ
               นโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพจากหลายประเทศดังนี้



               4.1 การใช้แนวคิดโรงกลั่นชีวภาพเป็นเกณฑ์
                       แนวคิดโรงกลั่นชีวภาพ (Biorefinery)     คือการประยุกต๑เทคโนโลยีการแปรรูป (Conversion

               Technology)  แบบบูรณาการ โดยมีวัตถุประสงค๑หลักในการแปรรูปชีวมวลให๎เป็นพลังงานรวมถึงผลิตภัณฑ๑ที่มี

               มูลคําทางการตลาดหลายชนิดที่ตอบสนองตํอความต๎องการของโลกทั้งทางด๎านพลังงาน อาหารและสารเคมี  (ภาพ
               ที่ 4.1) โดยหลักสําคัญคือความยั่งยืน (de  Jong  &  Jungmeier,  2015) ซึ่งเกิดขึ้นได๎จากการใช๎วัตถุดิบที่เป็น

               ทรัพยากรที่สามารถนํากลับมาใช๎ใหมํได๎ (Renewable  Resources)  ในขณะที่วัตถุดิบตั้งต๎นของโรงกลั่นน้ํามัน

               ปิโตรเลียมใช๎แล๎วหมดไป





















                                              ที่มา: (de Jong & Jungmeier, 2015)

                                      ภาพที่ 4.1 ชนิดของผลผลิตจากกระบวนการโรงกลั่นชีวภาพ
                       มีการจําแนกประเภทของโรงกลั่นชีวภาพด๎วยเกณฑ๑ที่แตกตํางกันไป แตํเมื่อพิจารณาทั้งในด๎านวัตถุดิบ

               (Feedstock) เทคโนโลยีหรือกระบวนการ (Process) และ ผลิตภัณฑ๑ (Product) การแบํงโรงกลั่นชีวภาพออกเป็น
               ระยะที่ 1 ระยะที่ 2 และ 3 ตามแนวทางของ Kamm  and  Kamm  (2004) สามารถมองเห็นความเชื่อมโยงได๎

               ชัดเจน (Clark & Deswarte, 2008; Fernando, Adhikari, Chandrapal, & Murali, 2006) ดังนี้




                                                             113
   128   129   130   131   132   133   134   135   136   137   138