Page 138 -
P. 138
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
บทที่ 4 สถานภาพของเทคโนโลยีเพื่อการแปรรูปวัตถุดิบชีวมวลภายใต๎นโยบายชีวเศรษฐกิจ
ที่มา: (B. Kamm & Kamm, 2004)
ภาพที่ 4.6 แนวทางของการใช๎ธัญพืชเป็นวัตุดิบสําหรับโรงกลั่นชีวภาพ (Whole Crop Biorefinery)
จากแนวคิดโรงกลั่นชีวภาพทั้งสามระยะกลําวได๎วําการใช๎ประโยชน๑จากชีวมวลเริ่มต๎นจากการพัฒนา
เทคโนโลยีเพื่อการแปรรูปชีวมวลทั้งรุํนที่ 1 และรุํนที่ 2 โดยมีผลิตภัณฑ๑หลักที่เกิดขึ้น คือ พลังงานและสารเคมี แตํ
แนวทางในการพัฒนาและวิจัยสําหรับชีวมวลทั้งสองรุํนมีความแตกตํางกันซึ่งเห็นได๎ชัดเจนจากโรงกลั่นชีวภาพ
ระยะที่ 1 และระยะที่ 3 โดยการพัฒนาเทคโนโลยีในการแปรรูปชีวมวลรุํนที่ 1 มีวัตถุประสงค๑หลักคือเพื่อผลิต
พลังงาน ทําให๎ทิศทางงานวิจัยสํวนใหญํมุํงไปที่การเพิ่มประสิทธิภาพในการแปรรูปสารตั้งต๎น ได๎แกํ แปูง น้ําตาล
และน้ํามันจากพืชอาหารและเพิ่มผลผลิตได๎ของพลังงานชีวภาพเป็นสําคัญ กลําวได๎วําทุกเทคโนโลยีมีเปูาหมายเพื่อ
ผลิตภัณฑ๑เพียงชนิดเดียวคือพลังงาน (ภาพที่ 4.7)
ที่มา: (Bozell & Petersen, 2010)
ภาพที่ 4.7 แนวทางการวิจัยเพื่อพลังงานและสารเคมีจากชีวมวล
118