Page 135 -
P. 135
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
บทที่ 4 สถานภาพของเทคโนโลยีเพื่อการแปรรูปวัตถุดิบชีวมวลภายใต๎นโยบายชีวเศรษฐกิจ
Propylene จากกระบวนการกลั่นน้ํามันปิโตรเลียม ปัจจุบัน Ethylene Glycol และ Propylene Glycol ใช๎เป็น
สารตั้งต๎นในอุตสาหกรรมพอลิเมอร๑ เชํน Polyester Fibers และ Polyethylene Terephthalate (PET) resins
รวมทั้งใช๎เป็นสารหลํอเย็น (Freitas, Manfro, & Souza, 2018) นอกจากนี้ยังสามารถนําไปผลิตไฮโดรเจน
(Hydrogen) สารเติมแตํงในเชื้อเพลิง (Fuel additive) เมทานอล (Methanol) เอทานอล (Ethanol) อะโครลีน
(Acrolein) ผลิตภัณฑ๑เคมีอุตสาหกรรม (Chemical Industry Products) ผลิตภัณฑ๑ยา (Pharmaceutical
Products) และ ไบโอแก๏ส (Biogas) (C. A. G. Quispe, C. J. R. Coronado, & J. A. Carvalho Jr, 2013)
(1) Dry corn mill ethanol (2) Wet corn mill ethanol
ที่มา: (Jerry Shurson, Mindy Spiehs, Jennifer Wilson, & Whitney, 2006)
ภาพที่ 4.3 กระบวนการผลิตเอทานอลจากข๎าวโพดด๎วยกระบวนการ Dry Mill (1) และ Wet Mill (2)
เชํนเดียวกับการผลิตเอทานอลโดยเฉพาะในสหรัฐอเมริกาที่ใช๎ข๎าวโพดเป็นวัตถุดิบตั้งต๎น สํวนใหญํผลิตเอ
ทานอลจากกระบวนการ Dry Corn Mill โดยการบดเมล็ดข๎าวโพดแล๎วนําไปผสมกับน้ําและเอนไซม๑ (ภาพที่ 4.3
(1)) จากนั้นนําสํวนผสมทั้งหมดผํานเข๎ากระบวนการยํอยแปูง (Liquefaction) โดยผสมกับเอนไซม๑กํอนเข๎าสูํ
กระบวนการหมักด๎วยจุลินทรีย๑ให๎ได๎เอทานอลตํอไป โดยสํวนที่ถูกแยกออกเป็นผลิตภัณฑ๑รํวมคือ สํวนผสมของจมูก
ข๎าวโพด เส๎นใย และโปรตีนที่เหวี่ยงแยกกออกหลังการหมักสามารถนํามาใช๎เป็นอาหารสัตว๑ได๎ ในขณะที่ Wet
Corn Mill จะมีการแชํน้ํากํอน 48 ชั่วโมง จากนั้นจึงผํานกระบวนการโมํเปียกเพื่อแยกจมูกข๎าวโพด กลูเตน เส๎นใย
และแปูงออกจากกัน ในกระบวนการนี้กํอให๎เกิดผลิตภัณฑ๑ที่หลากหลาย เชํน แปูงสามารถนําไปใช๎ทั้งในการผลิตเอ
115