Page 136 -
P. 136
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
บทที่ 4 สถานภาพของเทคโนโลยีเพื่อการแปรรูปวัตถุดิบชีวมวลภายใต๎นโยบายชีวเศรษฐกิจ
ทานอล แปูงข๎าวโพด และน้ําเชื่อม จมูกข๎าวโพดสามารถใช๎สกัดน้ํามันข๎าวโพด แม๎วําเทคโนโลยีในการผลิตเอทา
นอลแบบ Dry Corn Mill จะมีต๎นทุนต่ํากวําแตํผลได๎ของเอทานอลตํอปริมาณข๎าวโพดเริ่มต๎นก็ต่ํากวําด๎วยเชํนกัน
(Cole Gustafson & Fewell, 2010) เชํนเดียวกับในยุโรป บริษัท Roquette ของประเทศฝรั่งเศสมีอุตสาหกรรม
ที่ใช๎ข๎าวโพดรวมทั้งแปูงจากพืชหลายชนิดเป็นวัตถุดิบเพื่อการผลิตสารเคมีชนิดตําง ๆ มากกวํา 600 ชนิด เชํน แปูง
ดัดแปร สารให๎ความหวาน โพลีออล รวมถึงเอทานอล ซึ่งจัดเป็นอุตสาหกรรมที่ใช๎แนวคิดโรงกลั่นชีวภาพระยะที่ 2
เชํนกัน (ภาพที่ 4.4)
ที่มา: (Clark & Deswarte, 2008)
ภาพที่ 4.4 ตัวอยํางระบบโรงกลั่นชีวภาพระยะที่ 2
4.1.3 โรงกลั่นชีวภาพระยะที่ 3 (Biorefinery Phase III)
รูปแบบของโรงกลั่นระยะที่ 3 นับวํามีความซับซ๎อนมากที่สุดเนื่องจากเป็นการรวบรวมการประยุกต๑ใช๎
เทคโนโลยีที่หลากหลาย ซึ่งเปูาหมายของเทคโนโลยีที่ต๎องการคือนอกจากเพื่อให๎สามารถสร๎างผลิตภัณฑ๑ได๎หลาย
ชนิดแล๎วแล๎วยังต๎องสามารถรองรับวัตถุดิบที่มีโครงสร๎างทางเคมีที่แตกตํางกันด๎วย (Multiple Feedstocks,
Multiple Processes and Multiple Major Products) เชํน Lignocellulose แม๎วําข๎อดีของรูปแบบโรงกลั่น
ระยะที่ 3 คือ ชํวยลดความเสี่ยงของปัญหาการขาดแคลนวัตถุดิบเนื่องจากสามารถใช๎วัตถุดิบที่หลากหลาย แตํ
ปัจจุบันเทคโนโลยีที่เกี่ยวข๎องกับการแปรรูปชีวมวลด๎วยแนวคิดโรงกลั่นชีวภาพระยะที่ 3 ยังอยูํในระดับวิจัยและ
พัฒนาเนื่องจากยังขาดความคุ๎มคําทางเศรษฐกิจ แตํทั้งสหภาพยุโรปและสหรัฐอเมริกามีนโยบายสนับสนุนงานวิจัย
เพื่อสร๎างเทคโนโลยีที่จําเป็นอยํางตํอเนื่อง โดยวัตถุดิบสําหรับโรงกลั่นชีวภาพระยะที่ 3 ที่อยูํในขั้นตอนการวิจัย
และพัฒนาในปัจจุบัน เชํน Lignocellulose จากอุตสาหกรรมปุาไม๎ และวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร เชํน ฟางข๎าว
กากอ๎อย รวมถึงเมล็ดและลําต๎นของธัญพืช (Whole Crop Refinery) เชํน ข๎าวโพด ข๎าวสาลี
ในยุโรปมีการรวมกลุํมระหวําง RISE Research Institute of Sweden มหาวิทยาลัยและภาคเอกชนในปี
116