Page 137 -
P. 137
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
บทที่ 4 สถานภาพของเทคโนโลยีเพื่อการแปรรูปวัตถุดิบชีวมวลภายใต๎นโยบายชีวเศรษฐกิจ
2546 ในนาม Processum ได๎ดําเนินงานวิจัยและพัฒนาเกี่ยวกับโรงกลั่นชีวภาพโดยใช๎ Lignocellulose เป็น
วัตถุดิบ (Lignocellulose Biorefinery) เพื่อขับเคลื่อนการใช๎ประโยชน๑จากอุตสาหกรรมปุาไม๎ โดยใช๎ผลผลิตจาก
กระบวนการผลิตเยื่อและกระดาษเพื่อการผลิตพลังงานและสารเคมีและผลิตภัณฑ๑อีกหลายชนิด โดยอาศัยองค๑
ความรู๎และเทคโนโลยีที่แตกตํางกันของกลุํมสมาชิก (ภาพที่ 4.5) ซึ่งศักยภาพของเทคโนโลยีด๎าน Pretreatment
ถือเป็นจุดแข็งของอุตสาหกรรมเยื่อและกระดาษที่ทําให๎การตํอยอดสูํระดับอุตสาหกรรมอื่นเป็นไปได๎ได๎มากขึ้นใน
อนาคต
ที่มา: http://www.processum.se/en/sp-processum/our-projects/the-biorefinery-of-the-future และ
(de Jong & Jungmeier, 2015)
ภาพที่ 4.5 แนวทางของกลุํม Processum ในกระบวนการ Lignocellulose Biorefinery
ในขณะที่สหรัฐอเมริกาซึ่งมีฐานอุตสาหกรรมเกษตรขนาดใหญํของข๎าวโพดเพื่อผลิตทั้งอาหารคน อาหาร
สัตว๑และพลังงานได๎มีการประยุกต๑ใช๎แนวคิด Whole Crop Biorefinery เพื่อให๎สามารถใช๎ประโยชน๑จากชีวมวลได๎
สูงสุด โดยเริ่มจากกระบวนการทางกลในการแยกสํวนตํางๆ ของข๎าวโพด เชํน เมล็ด ต๎น และเปลือก โดยสํวนที่
เป็น Lignocellulose จะเข๎าสูํกระบวนการ Pretreatment แยกเป็น Cellulose Hemicellulose และ Lignin
เชํนเดียวกับ Lignocellulose Biorefinery หรือสามารถเข๎าสูํกระบวนการเผา (Gasification) เพื่อให๎ได๎
Synthetic Gas ที่สามารถผลิตเป็นพลังงานและสารตัวกลางของสารเคมีหลายชนิดตํอไป (ภาพที่ 4.6)
117