Page 127 -
P. 127

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                        บทที่  3 พืชเศรษฐกิจที่สามารถนําไปพัฒนาสูํ Bioeconomy




                       นอกจากนี้ สํวนเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมยางพารา ได๎แกํ ใบยาง ขี้เลื่อย เปลือก และเมล็ดยาง ก็สามารถ
               นําไปใช๎ให๎เกิดประโยชน๑ได๎เชํน

                                 -  ใบยาง สามารถนําไปผลิตก๏าซชีวภาพ (ชิตชนก คงแดง,  2554)  หรือนําไปสกัดสารที่มี

                          ฤทธิ์ควบคุมการติดเชื้อได๎ (นรสิงห๑ เพ็ญประไพ, 2546)
                                 -  ขี้เลื่อย สามารถนําไปผลิต แผํนไม๎อัดแข็ง (เบญจ ทองนวลจันทร๑, 2548) วัสดุเพาะเห็ด

                          (จเร พัฒนกิจ,  2533) ไซโลโอลิโกแซคคาร๑ไรด๑ (สันทัด วิเชียรโชติ,  2555) โอเอสแอล (พรรณนิภา

                          มาลานิตย๑, 2546) และถํานกัมมันต๑ (จันทิมา ชั่งสิริพร, 2551)

                                 -  เปลือก เมล็ด และกากเมล็ด สามารถนําไปใช๎ผลิต น้ํามันชีวภาพ (ไชยยันต๑ ไชยยะ,

                          2554) ไบโอดีเซล (ประชาสันติ ไตรยสุทธิ์, 2550; พรทิพย๑ เดชพิชัย, 2558; พัชราพร ภาเรือง, 2550)
                          สารดับเพลิง (ณัฐบดี วิริยาวัฒน๑,  2557) ถํานกัมมันต๑ (วัชระ เวียงแก๎ว,  2550) น้ํามันผสมสี

                          (กรรณิการ๑ สถาปิตานนท๑,  2529)  ใช๎เมล็ดเป็นอาหารสัตว๑ (จารุวัฒน๑ นุตเดชานันท๑,  2534;  วิชุดา

                          ปราชญาภักดิ์, 2536; ศิริศักดิ์ โกศลคุณาภรณ๑, 2531; สุทธิศักดิ์ แก๎วแกมจันทร๑, 2535) และเปลือก
                          สามารถนําไปสังเคราะห๑ใช๎เป็นตัวดูดซับเอทานอล (ศุภโชค ธนกุลพรรณ, 2552) ได๎



                   4)  อ๎อย
                       แม๎วําผลิตภัณฑ๑หลักที่ได๎จากอ๎อย คือ น้ําตาล แตํอยํางไรก็ตาม น้ําอ๎อยสามารถนําไปผลิตสารอื่นได๎โดยใช๎

               กระบวนการหมัก เชํน ไซรัป (อังคาร กานแก๎ว, 2550) เอทานอล (กัลทิมา พิชัย, 2535; กําเนิด สุภัณวงษ๑, 2539;

               ชุติมา ศรีงิ้ว,  2548)  น้ําส๎มสายชูหมัก (วราวุฒิ ครูสํง,  2545)  กรดโคจิก (วรรณี สุวรรณเวช,  2546) ยีสต๑ขนมปัง
               (ประไพศรี สมใจ,  2535,  2536)  และพลาสติกยํอยสลายได๎ทางชีวภาพชนิด PHB  (poly-3-hydroxybutyrate)

               (ศริญญา แก๎วประดับ, 2553)
                       นอกจากนี้ ของเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมน้ําตาล ยังสามารถนําไปใช๎ประโยชน๑ได๎หลายอยํางเชํน

                        ชานอ๎อย สามารถนําไปใช๎ประโยชน๑ได๎หลากหลาย โดยนอกจากสามารถนําไปผลิตเป็นเยื่อกระดาษ

               (กัลยวัต พรสุรัตน๑, 2546; ศิรินภา พรมมาแบน, 2556) เซลลูโลส (ดุษฎี สุริยพรรณพงศ๑, 2552; ปานจันทร๑ ศรีจรูญ,

               2550) คาร๑บอกซีเมทิลเซลลูโลส (โสภณ เริงสําราญ,  2541) แผํนอัด (ฉันท๑ทิพ คํานวณทิพย๑,  2550)เชื้อเพลิงอัด

               แทํง (สุพจน๑ เดชผล,  2546;  สุภาวดี สวัสดิพรพัลลภ,  2545)  ชานอ๎อยยังสามารถนําไปผลิตปุ๋ยอินทรีย๑ ปุ๋ยหมัก

               (จุฑามาศ รัตนศรีบัวทอง, 2548; ประกาศิต อินทรสําอางค๑, 2549) และเป็นอาหารสัตว๑ได๎ รวมถึงสามารถใช๎เป็น

               แหลํงคาร๑บอนในกระบวนการผลิต เอทานอล (วัชรา หงษ๑เวียง, 2546) และเฟอฟูรัล (เฉลิมพร ทองพูน, 2553) ได๎

               อีกด๎วย




                                                             107
   122   123   124   125   126   127   128   129   130   131   132