Page 124 -
P. 124
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
บทที่ 3 พืชเศรษฐกิจที่สามารถนําไปพัฒนาสูํ Bioeconomy
- การสกัดสารจากรําข๎าว เชํน วิตามินอี แกมมาออไรซานอล(คณิต กฤษณังกูร,
2558; บุษบัน ศิริธัญญาลักษณ๑, 2553) โพลิโคซานอล (ดุษฎี กิตติยวัฒน๑, 2550) เอนไซม๑ไลเปส
(จารุดา วิเศษสรรโชค, 2545; นิคม ชัยศิริ, 2513) ใยอาหารเสริมผลิตภัณฑ๑ (กรุณา ชัยเสถียร,
2536; จิตรา สิงห๑ทอง, 2555; เจตนิพัทธ๑ บุณยสวัสดิ์, 2556; วันทนา พินัยกุล, 2539) เบต๎า
กลูแคน (ภูมิภัทร รินทร๑ศรี, 2555) ไบโอดีเซล (คณิต กฤษณังกูร, 2558; สุกัญญา หงษ๑ทอง,
2552) สารต๎านอนุมูลอิสระและสารต๎านจุลชีพ (วิไลลักษณ๑ กลํอมพงษ๑, 2555)
- การสกัดสารแกลบข๎าว เชํน ซิลิคอนไดออกไซด๑(ก๎องเกียรติ ภูํเกิด, 2531) สาร
ต๎านจุลชีพ (วิไลลักษณ๑ กลํอมพงษ๑, 2555)
นอกจากนี้ สํวนตํางๆของข๎าว เชํน แกลบข๎าว ฟางข๎าว ยังสามารถนํามาใช๎เป็นแหลํงคาร๑บอนเพื่อใช๎ใน
การผลิตสารตํางๆผํานกระบวนการหมักได๎ เชํน เอทานอล (Abu Bakar & Titiloye, 2013; Islam & Ani, 2000)
สารประกอบฟูแรน (Amiri, Karimi, & Roodpeyma, 2010; Yokoyama & Miyafuji, 2016) ไบโอ
ไฮโดรคาร๑บอน (Pinto, Miranda, & Costa, 2016) กรดแลคติก (Abdel-Rahman, Tashiro, & Sonomoto,
2013; Jae-Han Kim, Block, Shoemaker, & Mills, 2010; Xiaodong, Xuan, & Rakshit, 1997; Younas et
al., 2016) ได๎อีกด๎วย
2) มันสําปะหลัง
สํวนประกอบของมันสําปะหลังที่สามารถนํามาใช๎ประโยชน๑ได๎แบํงออกเป็น 7 สํวนหลักๆ คือ หัวมัน
กากมัน ต๎นมัน ใบ น้ํายาง เหง๎า น้ําทิ้งและตะกอนจากโรงงานแปูงมัน
2.1) หัวมัน โดยสํวนใหญํจะนําไปผลิตเป็น แปูงมัน โดยแปูงมันสามารถนําไปใช๎ประโยชน๑ในอุตสาหกรรม
ตํางๆได๎หลากหลาย เชํน แปูงชุบทอด (ปิยวรรร ฉ่ํามิ่งขวัญ, 2549a; วนิดา เผอิญโชค, 2547)พุดดิ้งขาวโพด
(สลิลดา เศรษฐา, 2558) สตาร๑ชผสมพรีเจล (เทวี คาร๑ริลา, 2551) บรรจุภัณฑ๑ยํอยสลายได๎ (ชยุต ขรุรัมย๑, 2557a)
โฟมยํอยสลายได๎ (อังศุมา บุญไชยสุริยา, 2554) ฟิลม๑บริโภคได๎ (ปนัดดา พวงเกษม, 2540) วัสดุและโฟมกันก
ระแทก (วีระศักดิ์ เลิศสิริโยธิน, 2554) วัสดุนาโนคอมโพสิต (สิรินันท๑ วิริยะสุนทร, 2549) ไฮโดรเจล (ชัยวุฒิ วัดจัง,
2555; ดุษฎี อุตภาพ, 2557; สอาด ริยะจันทร๑, 2555) เรซินแลกเปลี่ยนไอออน (ชัชฎาพร องอาจ, 2545) เทอร๑โม
พลาสติก (ชยุต ขรุรัมย๑, 2557a) วัสดุดูดซับยูเรีย (สาวิตรี รุจิธนพาณิช, 2554) หรือนําไปเปลี่ยนรูปโมเลกุลของ
แปูงมัน ให๎กลายเป็นแปูงแอซีเตต (ปริณดา พรหมหิตาธร, 2553) และแปูงแอมโฟเทอริก (โสภา แคนสี, 2551)
และนําไปใช๎ประโยชน๑ในอุตสาหกรรมอื่นๆได๎ มีการสกัดเส๎นใยนาโนจากมันสําปะหลังสําหรับเป็นสารชํวยในเม็ดยา
(จักรพันธ๑ ศิริธัญญาลักษณ๑, 2555)
104