Page 121 -
P. 121
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
บทที่ 3 พืชเศรษฐกิจที่สามารถนําไปพัฒนาสูํ Bioeconomy
ตารางที่ 3.14 ประมาณการปริมาณผลิตภัณฑ๑และผลพลอยได๎หลักเฉลี่ยตํอปีของปาล๑มน้ํามัน (ตํอ)
ผลิตภัณฑ์และผลพลอยได้หลัก สัดส่วน น้ าหนัก (ตัน)
กะลา 6% 731,023
น้ํามันเมล็ดใน 2.50% 304,593
กากเมล็ดใน 3.20% 389,879
ทางปาล๑ม 141% 17,179,042
ลําต๎นปาล๑ม 10% 1,836,000
นอกจากนี้ยังมีปาล๑มน้ํามันยังสามารถนําไปผลิตไบโอดีเซลได๎อีกด๎วย ซึ่งประเทศไทยผลิตไบโอดีเซลจาก
ปาล๑มน้ํามันเป็นหลัก และเป็นผู๎ผลิตไบโอดีเซลอันดับ 7 ของโลก (นรินทร๑ ตันไพบูลย๑, 2559) โดยผลผลิตน้ํามัน
ปาล๑มดิบ 2.07 ล๎านตัน สามารถนํามาใช๎ในอุตสาหกรรมไบโอดีเซลประมาณ 8 แสนตันตํอปี (ข๎อมูลปี 2558)
ปัจจุบันมีโรงงานผลิตไบโอดีเซลในเชิงพาณิชย๑ที่ขึ้นทะเบียนกับกรมธุรกิจพลังงาน 12 ราย มีกําลังการผลิตติดตั้ง
รวม 6.2 ล๎านลิตร/วัน และมีการผลิตจริงเฉลี่ยอยูํที่ 3.4 ล๎านลิตร/วัน ซึ่งยังไมํเต็มความสามารถของกําลังการผลิต
รวมของทั้งประเทศ ปัจจุบันความต๎องการไบโอดีเซลมีแนวโน๎มเพิ่มขึ้น จากปี 2555 ความต๎องการอยูํที่ 1.23 ล๎าน
ลิตร/วัน เป็น 3.4 ล๎านลิตร/วัน ในปี 2558 และรัฐบาลยังมีการออกมาตรการสนับสนุนการใช๎ไบโอดีเซลและวาง
แผนการผลิตและใช๎ไบโอดีเซลของประเทศ ไปจนถึงปี 2569 โดยคาดวําในปี 2569 ประเทศไทยจะมีกําลังการผลิต
สูงถึง 10 ล๎านลิตร/วัน ดังนั้นกําลังการผลิตจริงในปัจจุบันที่ 3.4 ล๎านลิตร/วัน จะสามารถผลิตกลีเซอรีนได๎
ประมาณ 299 ตัน/วัน หากทําการผลิตทั้งหมด 300 วัน/ปี จะได๎กลีเซอรีนประมาณ 89,760 ตัน/ปี และจากการ
คาดการณ๑ในปี 2569 ที่จะผลิตไบโอดีเซลปีละ 10 ล๎านลิตรตํอวัน จะผลิตกลีเซอรีนได๎ 880 ตัน/วัน หรือประมาณ
264,000 ตัน/ปี หากทําการผลิต 300 วัน/ปี
จากการศึกษาหํวงโซํอุปทานของพืชเศรษฐกิจแตํละชนิดสามารถจําแนกผลิตภัณฑ๑จากพืชแตํละชนิดออก
ได๎เป็นสองแบบหลักๆ คือ ผลิตภัณฑ๑ที่เป็นอาหารและมิใชํอาหาร ในลําดับถัดมาจึงทําการศึกษาข๎อมูลงานวิจัย
ตํางๆ เพื่อให๎ทราบถึงสถานภาพของงานวิจัยปัจจุบันที่สนับสนุนภาคอุตสาหกรรม ทั้งที่เป็นอาหารและที่ไมํใชํ
อาหาร ทั้งงานวิจัยในประเทศและตํางประเทศ เพื่อนําข๎อมูลมาวิเคราะห๑รํวมกับปริมาณวัตถุดิบจะได๎ทราบวําควร
พัฒนางานวิจัยจากวัตถุดิบใด ไปในทิศทางใด เพื่อรองรับแนวคิดการพัฒนาภายใต๎หลักการ Bioeconomy
101