Page 51 -
P. 51

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                        34







                              3.4.2 เพื่อตอบวัตถุประสงค์ข้อที่ 2
                             1)  การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ เป็นวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณจากการสังเกต โดยการ
                       เก็บข้อมูลจากแบบส ารวจจากตัวอย่างจากผู้ซื้อปลาสดและผลิตภัณฑ์แปรรูปจากปลา ใช้การสังเกต
                       ตลาดละ 7 วัน (เพื่อให้ได้วงรอบ 1 สัปดาห์) ข้อมูลที่ใช้ในการสังเกตประกอบด้วย ลักษณะของผู้ซื้อ

                       เช่น ผู้ซื้อส่ง ผู้ซื้อปลีก ผู้บริโภคคนสุดท้าย เป็นต้น ประเภทของผลิตภัณฑ์ที่ซื้อ ประเภทของปลา
                       ระยะเวลาในการเลือกซื้อ ระยะทางในการเลือกซื้อ จ านวนที่ซื้อ และความถี่ในการซื้อในรอบ 7 วัน
                             2)  การวิเคราะห์ทางสถิติ เพื่อให้ได้ข้อมูลในการวิเคราะห์ข้อมูลของผู้ซื้อปลา สถิติที่ใช้

                       ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ One-way ANOVA เพื่อวิเคราะห์
                       ความแตกต่างของแต่ละตลาด Effect Size รวมถึงการประมาณการสัดส่วนมูลค่าการตลาด ส่วน
                       เหลื่อมการตลาด เป็นต้น

                              3.4.3 เพื่อตอบวัตถุประสงค์ข้อที่ 3
                             จะเป็นการน าข้อมูลที่ได้จากกระบวนการที่ได้จากวัตถุประสงค์ข้อที่ 1-2 มาสังเคราะห์
                       และระดมความคิดเห็นจากการประชุมน าเสนอผลการศึกษาอีกครั้ง  จากนั้นจะน าไปสู่การวิเคราะห์

                       ข้อมูลเชิงคุณภาพดังนี้
                               1.)  การวิเคราะห์จุดอ่อน จุดแข็ง โอกาส และอุปสรรค (SWOT) เป็นการวิเคราะห์
                       สภาพของธุรกิจปลาสด และผลิตภัณฑ์แปรรูปจากปลา ภายหลังจากการรวบรวมข้อมูลเพื่อให้ได้
                       ข้อมูลที่สามารถน าไปใช้ในการก าหนดกลยุทธ์ต่อไป

                               2.)  การวิเคราะห์กลยุทธ์และการจัดการการตลาด วิเคราะห์ข้อมูลการด าเนินงาน
                       โดยน าข้อพิจารณาจาก SWOT Analysis และพิจารณาการใช้กลยุทธ์ที่เหมาะสม โดยประยุกต์
                       กลยุทธ์ส่วนผสมทางการตลาด (4Ps)


                              3.4.4 สถิติที่ใช้ในการวิจัย
                             3.4.4.1 สถิติเชิงพรรณนา

                               1)  ความถี่ร้อยละ เป็นสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลลักษณะทั่วไป เหมาะกับข้อมูล
                       นามบัญญัติและเรียงล าดับ เพื่อน าเสนอความถี่ของข้อมูลในรูปของร้อยละ โดยพิจารณาจากสูตรดังนี้


                                                                 (100)
                                                          P =
                                                                  N

                                     เมื่อ      P      คือ    จ านวนร้อยละ
                                                F      คือ    ความถี่ที่ต้องการเปลี่ยนเป็นร้อยละ
                                                N      คือ    จ านวนทั้งหมดของข้อมูล
                                  2)  ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เป็นค่ากลางของข้อมูลที่ได้จากการน า ผลรวมของข้อมูลทั้งหมด

                       หาร ด้วยจ านวนข้อมูลทั้งหมด มีความนิยมมากที่สุด เหมาะสมกับข้อมูลที่มีมาตราวัดระดับช่วงหรือ
                       อัตราส่วน มีสูตรการค านวณ ดังนี้
                                                                ∑   x
                                                            x̅ =
                                                                 N
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56