Page 52 -
P. 52
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
35
เมื่อ x̅ คือ ค่าเฉลี่ย
∑ x คือ ผลรวมทั้งหมดของข้อมูล
N คือ จ านวนทั้งหมดของข้อมูล
3) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เพื่อวัดการกระจายของข้อมูล
4) การวิเคราะห์อัตราส่วน และร้อยละ เพื่อวิเคราะห์สัดส่วนของห่วงโซ่อุปทานและ
การวิเคราะห์ส่วนเหลื่อมการตลาด
3.4.4.2 การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว (One–way ANOVA)
เป็นวิธีการทดสอบเพื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ระหว่างตัวแปรต้นที่มีลักษณะเป็นตัว
แปรเชิงคุณภาพ กับตัวแปรตามเพียงตัวเดียวที่อาจมีลักษณะเป็นตัวแปรเชิงปริมาณ เพื่อศึกษา
ความสัมพันธ์ของตัวแปรต้นว่าจะส่งผลอย่างไรกับตัวแปรตาม โดยการวิเคราะห์ความแปรปรวนทาง
เดียวจะกระท ากับกลุ่มตัวอย่าง 3 กลุ่มขึ้นไป ซึ่งจะมีจ านวนเท่ากันหรือแตกต่างกันก็ได้ ส าหรับการ
วิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวจะต้องท าการวิเคราะห์ผลรวมก าลังสองของความเบี่ยงเบนของค่า
ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องของการแปรผันทั้งหมด โดยก าหนดให้
SS = SS + SS
w
T
b
เมื่อ SST คือ ผลรวมของการแปรผันทั้งหมด (Total Sum of Squares)
SSb คือ ผลรวมของการแปรผันระหว่างกลุ่ม (Between Group Sum of Squares)
SSw คือ ผลรวมของการแปรผันภายในกลุ่ม (Within Group Sum of Squares)
สามารถเขียนเป็นสูตรได้ดังนี้
k n j k k n j
̅
̅
̅
̅
∑ ∑(X X) = ∑ n (X X) + ∑ ∑(X X)
ij
j
j
ij
j= i= j= j= i=
เมื่อ Xij คือ ค่าที่ศึกษาในตัวแปรตาม
X ̅ คือ ค่าเฉลี่ยของค่าที่ศึกษาในตัวแปรตามทั้งหมด
X ̅ คือ ค่าเฉลี่ยของค่าที่ศึกษาในตัวแปรตามทั้งหมดในกลุ่มที่ j
j
k คือ กลุ่มตัวอย่างทั้งหมด
nj คือ จ านวนสมาชิกของกลุ่มตัวอย่างในกลุ่มที่ j
i คือ ล าดับที่ของตัวอย่าง
จากสูตร SST = SSb + SSw ผลรวมของการแปรผันสามารถหาได้หลายวิธี โดยที่
การทดสอบสมมติฐานความแปรปรวนจะใช้วิธีการทดสอบค่า F ซึ่งค่า F เกิดจาก ผลต่างระหว่าง
ค่าเฉลี่ยของความแปรปรวนระหว่างกลุ่มกับค่าเฉลี่ยของความแปรปรวนภายในกลุ่ม มีสูตรการ
ค านวณ ดังนี้
MS
F = b
MS w