Page 56 -
P. 56

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                        39







                              จากภาพที่ 4.1 แสดงรูปแบบโซ่อุปทานของการหาและจ าหน่ายปลาน้ าจืดธรรมชาติ อ าเภอ
                       เมือง จังหวัดหนองคาย จะเริ่มจากชาวประมงหาปลาน้ าจืดธรรมชาติจากแม่น้ าโขง ซึ่งชาวประมงใน
                       พื้นที่มีเรือที่มีการลงทะเบียนไว้จ านวน 24 ล าจะมีการจัดล าดับในการหาปลา  เมื่อหาปลามาแล้วจะ
                       แบ่งเป็น 3 ส่วน ส่วนแรกแบ่งจ าหน่ายให้แก่พ่อค้าคนกลางประมาณร้อยละ 80 ส าหรับพ่อค้าคนกลาง

                       ในพื้นที่ศึกษานี้ พบว่า มีจ านวน 2 คน หลังจากนั้นพ่อค้าคนกลางจะน าไปจ าหน่ายให้แก่ ร้านอาหาร
                       และพ่อค้า/แม่ค้าในตลาดโพธิ์ชัย จังหวัดหนองคาย ส่วนปลาอีกส่วนจะแบ่งจ าหน่ายในท้องถิ่นหรือ
                       หมู่บ้านตนเองและหมู่บ้านใกล้เคียงประมาณร้อยละ 10 เนื่องจากในท้องถิ่นจะมีตลาดนัดที่จัดขึ้นทุก
                       วันจันทร์ วันพฤหัสบดี และวันเสาร์ ส่วนสุดท้ายจะบริโภคเองภายในครอบครัวประมาณร้อยละ 10

                       อย่างไรก็ตามในช่วงที่ปลามีจ านวนมาก ก็จะมีพ่อค้าคนกลางน าปลาจากทางอ าเภอสังคม และอ าเภอ
                       ศรีเชียงใหม่มาจ าหน่ายแต่เป็นปริมาณที่ไม่มากและไม่สม่ าเสมอ


                              4.1.2 การจัดการห่วงโซ่อุปทานจังหวัดสกลนคร
                                     ผลการศึกษารูปแบบโซ่อุปทานของการหา และจ าหน่ายปลาน้ าจืดธรรมชาติ บริเวณ
                       พื้นที่โดยรอบ อ าเภอเมือง จังหวัดสกลนคร มีผู้มีส่วนเกี่ยวข้องและมีความเชื่อมโยงกันภายในโซ่
                       อุปทาน ดังภาพที่ 4.2

                                     จากภาพที่ 4.2 แสดงรูปแบบโซ่อุปทานของการหาและจ าหน่ายปลาน้ าจืด ในเขต

                       ต าบลท่าแร่ อ าเภอเมือง จังหวัดสกลนคร เริ่มจากชาวประมงหาปลาน้ าจืดธรรมชาติจากแม่น้ าโขง
                       เมื่อหาปลามาแล้วจะแบ่งเป็น 3 ส่วน ส่วนแรกชาวประมงจะน าไปจ าหน่ายที่ตลาดท่าแร่ที่จะมีเวลาใน
                       การจ าหน่าย 2 ช่วง คือ 03.00 น. – 08.00 น. และ 13.00 น. – 18.00 น. โดยจ าหน่ายให้แก่พ่อค้า
                       คนกลางประมาณร้อยละ 80 หลังจากนั้นพ่อค้าคนกลางจะน าส่วนที่หนึ่งไปจ าหน่ายที่ตลาดเทศบาล

                       นครสกลนคร และอีกส่วนจะจ าหน่ายในตลาดย่อยอีก 2 ตลาด ได้แก่ ตลาดโพนนาแก้ว และตลาด
                       กุสุมาลย์  นอกจากนี้ปลาอีกส่วนจะถูกแบ่งจ าหน่ายในท้องถิ่นและหมู่บ้านใกล้เคียงประมาณร้อยละ
                       10 โดยจะมีการบริโภคภายในหมู่บ้านเองและมีการน าไปแปรรูปด้วย ส่วนสุดท้ายจะบริโภคเองภายใน

                       ครอบครัวประมาณร้อยละ 10
   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61