Page 58 -
P. 58

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                        41







                              4.1.3 การจัดการห่วงโซ่อุปทานจังหวัดนครพนม
                                     ผลการศึกษารูปแบบโซ่อุปทานของการหา และจ าหน่ายปลาน้ าจืดธรรมชาติ ในเขต
                       พื้นที่ท่าอุเทน และอ าเภอเมือง จังหวัดนครพนม มีผู้มีส่วนเกี่ยวข้องและมีความเชื่อมโยงกันภายในโซ่
                       อุปทาน ดังภาพที่ 4.3

                                     รูปแบบโซ่อุปทานของการหาและจ าหน่ายปลาน้ าจืด อ าเภอเมือง จังหวัดนครพนม
                       (ภาพที่ 4.3) เริ่มจากชาวประมงหาปลาน้ าจืดธรรมชาติจากแม่น้ าโขง เมื่อหาปลามาแล้วชาวประมง
                       บางส่วนจะจ าหน่ายให้กับนายหน้ารายย่อยที่รับซื้อมาจากในหมู่บ้าน นายหน้าจะรับซื้อปลาสดคิดเป็น

                       ร้อยละ 30 ของพื้นที่นี้ซึ่งมีนายหน้ารายย่อย จ านวน 3 ราย ดังที่แสดงจากภาพที่ 4.3 รายย่อยที่ 1 2
                       และ 3 คือนายหน้าที่รับซื้อปลาสดมาจากชาวประมงในพื้นที่อ าเภอท่าอุเทนแล้วมาจ าหน่ายให้กับ
                       พ่อค้ารายใหญ่ 4 แล้วจะน าไปจ าหน่ายแก่ผู้บริโภคโดยตรง ในขณะที่ชาวประมงในอ าเภอจะน าปลา
                       มาจ าหน่ายกับพ่อค้าคนกลางประมาณร้อยละ 20 หลังจากนั้นพ่อค้าคนกลางจะจ าหน่ายให้พ่อค้าราย

                       ใหญ่ 1 พ่อค้ารายใหญ่ 2 และพ่อค้ารายใหญ่ 3 แล้วพ่อค้ารายใหญ่ 1 2 และ 3 จะจ าหน่ายให้แก่
                       ผู้บริโภคโดยตรง ส่วนปลาอีกประมาณร้อยละ 20 จะแบ่งจ าหน่ายในท้องถิ่นและหมู่บ้านใกล้เคียง
                       ประมาณร้อยละ 10 และบริโภคเองภายในครอบครัวประมาณร้อยละ 10

                              4.1.4 การจัดการห่วงโซ่อุปทานจังหวัดอุดรธานี
                                     ผลการศึกษารูปแบบโซ่อุปทานของการหา และจ าหน่ายปลาน้ าจืดธรรมชาติ ต าบล

                       สร้างคอม อ าเภอสร้างคอม จังหวัดอุดรธานี มีผู้มีส่วนเกี่ยวข้องและมีความเชื่อมโยงกันภายในโซ่
                       อุปทาน ดังภาพที่ 4.4

                                     รูปแบบโซ่อุปทานของการหาและจ าหน่ายปลาน้ าจืดธรรมชาติ ต าบลสร้างคอม
                       อ าเภอสร้างคอม จังหวัดอุดรธานี (ภาพที่ 4.4) จะเริ่มจากผู้ท าประมงหาปลาน้ าจืดธรรมชาติจากอ่าง
                       น้ าพาน เมื่อหาปลามาแล้วจะแบ่งเป็น 3 ส่วน ส่วนแรกจะบริโภคเองภายในครอบครัวประมาณร้อย

                       ละ 30 และอีกร้อยละ 20 จ าหน่ายในท้องถิ่นหรือหมู่บ้านตนเองและหมู่บ้านใกล้เคียง ส าหรับส่วนที่
                       ส่วนที่เหลือจะจ าหน่ายให้แก่พ่อค้าคนกลางประมาณร้อยละ 50 หลังจากนั้นพ่อค้าคนกลางจะน าไป
                       จ าหน่ายให้แก่ ร้านอาหารหรือแพที่อ่างน้ าพาน จังหวัดอุดรธานี และพ่อค้า/แม่ค้าในตลาดเมืองใหม่

                       และตรงไปยังผู้บริโภคในล าดับสุดท้าย
   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63