Page 61 -
P. 61
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
44
4.1.5 การจัดการห่วงโซ่อุปทานจังหวัดกาฬสินธุ์
ผลการศึกษารูปแบบโซ่อุปทานของการหา และจ าหน่ายปลาน้ าจืดธรรมชาติ บริเวณ
เขื่อนล าปาว ต าบลล าปาว อ าเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์ มีผู้มีส่วนเกี่ยวข้องและมีความเชื่อมโยงกัน
ภายในโซ่อุปทาน ดังภาพที่ 4.5
รูปแบบโซ่อุปทานของการหาและจ าหน่ายปลาน้ าจืดธรรมชาติ ต าบลล าปาว อ าเภอเมือง
จังหวัดกาฬสินธุ์ (ภาพที่ 4.5) จะเริ่มจากชาวประมงหาปลาน้ าจืดธรรมชาติจากเขื่อนล าปาว เมื่อหา
ปลามาแล้วจะแบ่งเป็น 3 ส่วน ส่วนแรกแบ่งจ าหน่ายให้แก่พ่อค้าคนกลางประมาณร้อยละ 80 ส าหรับ
พ่อค้าคนกลางที่ส่วนใหญ่ชาวประมงในพื้นที่ศึกษานี้ได้จ าหน่ายปลาให้ มีจ านวน 4 ราย หลังจากนั้น
พ่อค้าคนกลางจะน าไปจ าหน่ายต่อให้กับผู้แปรรูปปลารายใหญ่ซึ่งมีจ านวน 2 รายในพื้นที่บ้านนาทม
และอีกส่วนจะจ าหน่ายให้พ่อค้า/แม่ค้าในตลาดหาดดอกเกด และบางส่วนพ่อค้าคนกลางจะน าไป
จ าหน่ายเองที่ตลาดนัดของหมู่บ้าน ส่วนปลาอีกส่วนชาวประมงจะแบ่งจ าหน่ายในท้องถิ่นหรือ
หมู่บ้านตนเองและหมู่บ้านใกล้เคียงประมาณร้อยละ 10 หรือน าไปจ าหน่ายเองที่ตลาดนัดของหมู่บ้าน
ส่วนสุดท้ายจะบริโภคเองภายในครอบครัวประมาณร้อยละ 10
4.1.6 การจัดการห่วงโซ่อุปทานพื นที่โดยรอบเขื่อนอุบลรัตน์
ผลการศึกษารูปแบบโซ่อุปทานของการหา และจ าหน่ายปลาน้ าจืดธรรมชาติ พื้นที่
โดยรอบเขื่อนอุบลรัตน์ บริเวณต าบลโคกใหญ่ อ าเภอโนนสังข์ จังหวัดหนองบัวล าภู มีผู้มีส่วน
เกี่ยวข้อง และมีความเชื่อมโยงกันภายในโซ่อุปทาน ดังนี้
ปลา
20% 10% 70%
พ่อค้าคนกลาง บริโภคเอง จ าหน่ายตลาด
ท้องถิ่น
ตลาด
ผู้บริโภค
ภาพที่ 4.6 รูปแบบโซ่อุปทานของปลาน้ าจืดธรรมชาติ พื้นที่โดยรอบเขื่อนอุบลรัตน์ ต าบลโคกใหญ่
อ าเภอโนนสังข์ จังหวัดหนองบัวล าภู