Page 50 -
P. 50

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                        33







                           ส่วนที่ 3 เป็นการสอบถามเกี่ยวกับคิดเห็นและข้อเสนอแนะของกลุ่มตัวอย่างเกี่ยวกับปลาสด
                       และผลิตภัณฑ์แปรรูปจากปลาน้ าจืด


                           3.2.2 ข้อมูลทุติยภูมิ เป็นการรวบรวมข้อมูลจากหนังสือ วารสารและเอกสารต่าง ๆ รวมทั้ง
                       บทความ วิทยานิพนธ์ และเอกสารอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อน ามาเป็นแนวทางในการศึกษาวิจัย


                       3.3 การเก็บรวบรวมข้อมูล
                           3.3.1 จะใช้การสัมภาษณ์และระดมความคิดเห็นจากตัวแทนกลุ่มชาวประมงในภาค

                       ตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 6 พื้นที่ ตัวแทนกลุ่มแปรรูปผลิตภัณฑ์แปรรูปจากปลาน้ าจืด 6 พื้นที่
                       และตัวแทนผู้แปรรูปผลิตภัณฑ์นอกกลุ่ม ใช้วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง
                           3.3.2 ใช้แบบสอบถามโดยการสัมภาษณ์กลุ่มผู้ซื้อปลาสดและผลิตภัณฑ์แปรรูปจากปลาน้ า
                       จืด กลุ่มละ 420 ตัวอย่าง รวม 840 ตัวอย่าง โดยสัมภาษณ์เกี่ยวกับข้อมูลพื้นฐานด้านประชากรศาสตร์

                       ความคิดเห็นของผู้บริโภคต่อการเลือกซื้อปลาสดและผลิตภัณฑ์แปรรูปจากปลาน้ าจืดธรรมชาติ
                           3.3.3 สังเคราะห์จากข้อ 3.3.1 และ 3.3.2 จากนั้นน าไปน าเสนอผ่านรูปแบบการประชุมและ
                       ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับรูปแบบและกลยุทธ์การตลาดของชาวประมงในการจัดจ าหน่ายปลาสดและ
                       ผลิตภัณฑ์แปรรูปจากปลาน้ าจืด และข้อเสนอแนะ จากตัวแทนกลุ่มชาวประมงและตัวแทนกลุ่มแปร

                       รูปผลิตภัณฑ์จากปลาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 6 พื้นที่  โดยก าหนดไม่ต่ ากว่าพื้นที่ละ 20
                       คน


                       3.4 การวิเคราะห์ข้อมูล

                              3.4.1 เพื่อตอบวัตถุประสงค์ข้อที่ 1
                             1)  การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ
                               1.1)  การส ารวจ การส ารวจพื้นที่วิจัย คณะวิจัยท าการรวบรวมข้อมูลที่มีประโยชน์

                       ต่อการวิจัย
                               1.2)  ระดมความคิดเห็น ผ่านการการสนทนากลุ่ม (Focus Group) โดยการจัด
                       สนทนากลุ่มทั้งกลุ่ม ชาวประมงและกลุ่มแปรรูปผลิตภัณฑ์จากปลา ทั้งนี้ข้อมูลที่สนทนาจะ
                       ประกอบด้วย ระบบห่วงโซ่อุปทาน เริ่มตั้งแต่ ชาวประมง – ผู้แปรรูป – ผู้ค้าส่ง – ผู้ค้าปลีก – ผู้ซื้อ

                       ปลายทาง นอกจากนี้ได้เชิญหน่วยงานจากภาครัฐในแต่ละท้องที่มาร่วมระดมความคิดเห็นประกอบ
                       แนวทางการวิเคราะห์ห่วงโซ่อุปทาน และการก าหนดนโยบายการตลาด
                               1.3)  การวิเคราะห์ห่วงโซ่อุปทาน สังเคราะห์ห่วงโซ่อุปทานในตลาดปลา และ

                       ผลิตภัณฑ์แปรรูปจากปลา จากการระดมความคิดเห็น เพื่อให้ได้ข้อมูลสารสนเทศในห่วงโซ่อุปทาน
                       และแนวทางในการพัฒนาธุรกิจ
                             2)  การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
                               2.1)  การบันทึกสัดส่วนตัวเลขเพื่อประกอบการจัดท าห่วงโซ่อุปทานปลาสดและ
                       ผลิตภัณฑ์แปรรูปจากปลาน้ าจืด

                               2.2)  น าข้อมูลที่ได้มาแปรค่าและวิเคราะห์ผลหาสัดส่วนมูลค่าการผลิต
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55