Page 46 -
P. 46
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
29
ดังกล่าว รวมถึงการวิเคราะห์ส่วนเหลื่อมการตลาด นอกเหนือจากการจัดจ าหน่ายปลาสดเพียงอย่าง
เดียว ก่อนน าผลิตภัณฑ์ออกสู่ตลาด
ทางด้านผู้บริโภคนั้น พบว่า การที่ผู้บริโภคตัดสินใจจะบริโภคสินค้าเพื่อตอบสนองความ
ต้องการของตนเอง เกิดจากแรงกระตุ้นของสิ่งเร้าที่มากระทบ ซึ่งสามารถจ าแนกได้เป็น สิ่งกระตุ้น
ทางการตลาดซึ่งเกี่ยวข้องกับส่วนประสมทางการตลาดของสินค้า และสิ่งกระตุ้นอื่น ๆ ท าให้ผู้บริโภค
เกิดความรู้สึกนึกคิดและน าไปสู่การตัดสินใจในการบริโภคสินค้าในที่สุด (ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และคณะ,
2546)
ดังนั้น การจัดการกลยุทธ์และการตลาดเพื่อดึงดูดให้ผู้บริโภคซื้อสินค้า จ าเป็นต้องค านึงถึง
ส่วนประสมทางการตลาด ประกอบกับข้อมูลสถาณการณ์ขององค์กร ซึ่งได้จากการวิเคราะห์จุดอ่อน
จุดแข็ง โอกาส และอุปสรรค ของผู้ผลิต ท าให้ได้ข้อมูล ผลกระทบจากปัจจัยเหล่านี้ต่อการท างานของ
องค์กร และน าไปสู่การก าหนดการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากปลาสดในด้าน ผลิตภัณฑ์ ตลอดจนการ
พัฒนาของพ่อค้าคนกลาง ในด้านการก าหนดราคา สถานที่จัดจ าหน่าย และการส่งเสริมการขาย
ห่วงโซ่อุปทานปลา
สด
การจัดการกลุ่มชาวประมงชุมชน
พ่อค้าคนกลาง/ การพัฒนาผลิตภัณฑ์
ส่วนเหลื่อมการตลาด จากปลาสด
การบริโภคปลา
การวิเคราะห์ SWOT
การตัดสินใจของ
ผู้บริโภค
การจัดการตลาดและการ
ความรู้สึกนึกคิดของผู้บริโภค ก าหนดกลยุทธ์
ภาพที่ 2.6 กรอบแนวคิดของการวิจัย