Page 41 -
P. 41
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
24
2) ความสัมพันธ์ระหว่างส่วนเหลื่อมการตลาดกับความยืดหยุ่นอุปสงค์
เนื่องจากส่วนเหลื่อมการตลาดมีความสัมพันธ์โดยตรงกับอุปสงค์ของสินค้าระดับต่าง ๆ กัน ดังนั้นจึง
ท าให้ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ของสินค้าที่ระดับต่าง ๆ มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับลักษณะการ
ก าหนดส่วนเหลื่อมการตลาดของสินค้านั้น ๆ ซึ่งสรุปได้ดังนี้
ก) กรณีที่หน่วยธุรกิจการตลาดก าหนดส่วนเหลื่อมการตลาดเป็น
ร้อยละคงที่ ความยืดหยุ่นของอุปสงค์สินค้าที่ระดับผู้ผลิตและผู้บริโภคจะเท่ากัน จากภาพที่ 2.2
E = Q 1 −Q 2 × P r2
Dr
P rl −P r2 Q 2
= Q 1 −Q 2 × kP f2
kP fl −kP f2 Q 2
= Q 1 − Q 2 × kP f2
k(P fl − P f2 ) Q 2
= Q 1 − Q 2 × P f2
P fl − P f2 Q 2
= E
Df
K = สัดส่วนระหว่างราคาที่ผู้บริโภคต่อราคาที่ผู้ผลิตซึ่งมีค่าคงที่ เพราะส่วนเหลื่อมการตลาด
คิดเป็นร้อยละคงที่
P = KPt
r
ข) กรณีที่หน่วยธุรกิจการตลาดก าหนดส่วนเหลื่อมการตลาดเป็นจ านวนคงที่ ความ
ยืดหยุ่นของอุปสงค์ที่ระดับผู้บริโภคต่อผู้ผลิตจะเท่ากับสัดส่วนระหว่างราคาที่ผู้บริโภคต่อราคาที่ผู้ผลิต
E = Q 1 − Q 2 × P f2
Df
P fl − P f2 Q 2
E = Q 1 − Q 2 × P r2
Dr
P rl − P r2 Q 2
E Dr = (Q −Q / P −P )(P /P )
2
1
r2
2
r1
r2
E Df (Q −Q / P −P )(P /P )
f1
2
f2
2
f2
1
P P = P P
r
r
f
f
P
=
r2
P f2
ทั้งนี้เพราะส่วนเหลื่อมการตลาดคิดเป็นจ านวนคงที่ ดังนั้น ในการพิจารณาถึงพฤติกรรมการ
ก าหนดส่วนเหลื่อมการตลาดของหน่วยธุรกิจการตลาดจึงอาจพิจารณาจากความยืดหยุ่นอุปสงค์สินค้า
ที่ระดับต่างกันได้อีกพวกหนึ่ง