Page 44 -
P. 44

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                        27







                                            (2) สถานการณ์ที่ 2 (จุดอ่อน–อุปสรรค)  สถานการณ์นี้เป็นสถานการณ์ที่
                       เลวร้ายที่สุด  เนื่องจากองค์กรก าลังเผชิญอยู่กับอุปสรรคจากภายนอกและมีปัญหาจุดอ่อนภายใน
                       หลายประการ  ดังนั้นทางเลือกที่ดีที่สุดคือกลยุทธ์การตั้งรับหรือป้องกันตัว (defensive strategy)
                       เพื่อพยายามลดหรือหลบหลีกภัยอุปสรรคต่างๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้น  ตลอดจนหามาตรการที่จะท าให้

                       องค์กรเกิดความสูญเสียที่น้อยที่สุด
                                            (3) สถานการณ์ที่ 3 (จุดอ่อน–โอกาส) สถานการณ์องค์กรมีโอกาสเป็นข้อ
                       ได้เปรียบด้านการแข่งขันอยู่หลายประการ  แต่ติดขัดอยู่ตรงที่เป็นจุดอ่อนอยู่หลายอย่างเช่นกัน
                       ดังนั้นทางออกคือกลยุทธ์การพลิกตัว (turn around – oriented strategy)  เพื่อใช้ประโยชน์จากจุด

                       แข็งที่มีสร้างโอกาสในระยะยาวด้านอื่น ๆ แทน
                                            (4) สถานการณ์ที่ 4 (จุดแข็ง-อุปสรรค) สถานการณ์นี้เป็นสถานการณ์ที่
                       สภาพแวดล้อมไม่เอื้ออ านวยต่อการด าเนินงาน แต่ตัวองค์กรมีข้อได้เปรียบที่เป็นจุดแข็งหลายประการ
                       ดังนั้นควรจะเลือกกลยุทธ์การแตกตัวหรือขยายขอบข่ายกิจการ (Diversification Strategy)  เพื่อใช้

                       ประโยชน์จากจุดแข็งที่น ามาสร้างโอกาสในระยะยาวด้านอื่น ๆ แทน

                       2.2 ทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง

                              จากลักษณะแหล่งน้ าในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีความหลากลายทางธรรมชาติ ท าให้
                       ปลามีความหลากหลายและจ านวนมาก แต่ยังไม่ปรากฏการศึกษาด้านรูปแบบการแปรรูปผลิตภัณฑ์
                       จากปลาว่ามีลักษณะอย่างไรบ้าง  ทั้งนี้ นิติพงษ์ ส่งศรีโรจน์ (2553) ได้ศึกษาเฉพาะอุปสงค์และ
                       อุปทานของปลาสดตามช่วงฤดูกาลและเพื่อศึกษาห่วงโซ่มูลค่าของปลาในจังหวัดยโสธรในช่วงปี พ.ศ.
                       2552 - 2553 จากผู้ค้าปลาในตลาดสด 12 ราย ในขณะที่สภาพความเป็นจริงนั้น ในแหล่งน้ า

                       ธรรมชาติหนึ่งแหล่ง   มีผู้จัดจ าหน่ายปลาสดและผลิตภัณฑ์จากปลาจ านวนมาก จึงยังไม่มีการศึกษา
                       รูปแบบของโซ่อุปทานตามแหล่งน้ าต่าง ๆ ในเขตพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ นอกจากการก าหนด
                       ราคาปลาสดและผลิตภัณฑ์แปรรูปจากปลา  และระบบการตลาดปลา  ในท านองเดียวกัน ส าหรับ

                       กรณีภาคใต้นั้น จากการศึกษาการท าประมงพื้นบ้านชายฝั่งในจังหวัดตรังนั้น พบว่า การที่ระบบ
                       ประมงจะมีเสถียรภาพและกระจายสินค้าได้หลายฤดูกาลนั้นจะต้องค านึงถึงปริมาณและคุณภาพของ
                       แรงงาน ระบบตลาด ราคาสินค้าประมง ฤดูกาล การผลิตสินค้าอาหารอื่น ๆ  ที่เกี่ยวข้อง (ปองเพชร
                       ธาราสุข และคณะ, 2557)

                              ในขณะที่ สาโรจน์ ดาวธง (2553) ได้ท าการศึกษาพฤติกรรมและการตัดสินใจซื้อปลาน้ าจืด
                       ของลูกค้าในตลาดเจ้าพรหม อ าเภอพระนครศรีอยุธยา  จังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดยมุ่งเน้นไปที่
                       ปลานิลทั้งนี้ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา และด้านช่องทางการจัดจ าหน่าย เป็นปัจจัยทางด้าน
                       การตลาดที่ส่งผลต่อการตัดสินใจในการเลือกซื้อของผู้บริโภคในระดับมากที่สุดในขณะที่ปัจจัยด้านการ

                       ส่งเสริมการตลาด และด้านสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ มีระดับการตัดสินใจซื้ออยู่ในระดับมาก ในขณะที่
                       ปัจจัยด้านราคาอิทธิพลน้อยที่สุด ขณะที่ Fayyaz, A.  et al. (1995) ได้ศึกษาเรื่องปัจจัยที่อิทธิพลต่อ
                       การเลือกบริโภคปลาสด โดยใช้การส ารวจผู้บริโภคในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของสหรัฐอเมริกา
                       ด าเนินการเพื่อรวบรวมข้อมูลการตลาดเกี่ยวกับ การตัดสินใจซื้อปลากะพง ปลาเทราต์ และ

                       ปลาแซลมอนสด ผลการศึกษาพบว่า ประสบการณ์การรับรู้และความชอบของผลิตภัณฑ์ต่อการ
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49