Page 12 -
P. 12

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                          ในกรณีของประเทศไทยนั้น การใชประโยชนที่ดินมีการเปลี่ยนแปลงอยางมากในชวงหลายปที่

                   ผานมา โดยเปลี่ยนจากเดิมในฐานะปจจัยการผลิตทางการเกษตรมาเปนที่ตั้งของการผลิตเพื่อเพิ่มมูลคา
                   ทางเศรษฐกิจในภาคอุตสาหกรรมและสินคาบริโภคเพื่อการนันทนาการ หากพิจารณาในภาคการเกษตร

                   จะเห็นไดชัดวาการทําเกษตรกรรมในประเทศไดเปลี่ยนรูปแบบเปนการทําเกษตรเชิงพาณิชยมากขึ้นกวาใน

                   อดีต โดยเฉพาะอยางยิ่งภายหลังจากการลงนามในสนธิสัญญาเบาวริ่งกับรัฐบาลอังกฤษในป พ.ศ.2398
                   การผลิตขาวของไทยเนนเพื่อการสงออกมากขึ้น สงผลใหมีการลงทุนพัฒนาที่ดินในรูปแบบตางๆ

                   โดยเฉพาะการพัฒนาระบบชลประทาน (สุนทรี อาสะไวย,  2530) ตอมาเมื่อประเทศไทยเขาสูยุค

                   อุตสาหกรรม พบวา เกษตรกรจํานวนมากตองเผชิญกับปญหาการขาดแคลนที่ดินทํากินและปญหาความ
                   ยากจน ซึ่งมีสาเหตุจากการที่ที่ดินเกษตรจํานวนมากถูกนายทุนกวานซื้อเพื่อทําไปใชในภาคอุตสาหกรรม

                   การแยงชิงที่ดินระหวางภาคเกษตรกรรมกับภาคอุตสาหกรรมชัดเจนมากภายใตการดําเนินนโยบาย

                   เศรษฐกิจแบบทุนนิยมในสมัยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต ซึ่งเนนสงเสริมระบบการถือครองที่ดิกรรมสิทธิ์แบบ
                   ปจเจกบุคคล ทําใหการซื้อขายที่ดินสามารถทําไดอยางเสรีและไมมีขอจํากัดในขนาดการถือครอง

                   (อภิวัฒน รัตนวราหะ, 2558)

                          ในยุคที่แหลงเงินกูทางการเกษตรของภาครัฐยังมีอยูอยางจํากัด การเกษตรเชิงพาณิชยสงผลให

                   เกษตรกรจํานวนมากตองสูญเสียที่ดิน ที่เปนเชนนี้เพราะการทําเกษตรเชิงพาณิชยจําเปนตองใชเงินในการ

                   ลงทุนมาก ดังนั้นเกษตรกรรายยอยจึงจําเปนตองนําที่ดินไปจํานองไวกับนายทุนในพื้นที่เพื่อกูเงินมาใชใน
                   การผลิต แตตนทุนการผลิตที่สูงในขณะที่ราคาสินคาเกษตรต่ําสงผลใหสุดทายแลวที่ดินก็หลุดจํานอง

                   เกษตรกรกลายเปนผูไรที่ดินทํากิน บางสวนตองหันไปประกอบอาชีพอื่นนอกภาคเกษตร ในขณะที่

                   บางสวนตองกลายสภาพมาเปนแรงงานจางหรือตองเชาที่ดินทํากิน ใน ความไมเทาเทียมในการถือครอง
                   ที่ดินในประเทศไทยอยูในระดับที่นาเปนกังกล และรุนแรงกวาความไมเทาเทียมกันดานรายไดเสียอีก (ดวง

                   มณี เลาวกุล,  2556 และ ผาสุก พงษไพจิตร,  2556) ทั้งนี้ หากมองวาการเชาที่ดินเปนทางเลือกหนึ่ง

                   สําหรับเกษตรกรที่ตองการดําเนินกิจกรรมทางการเกษตรแตมีขอจํากัดทางการเงิน หรือไมตองการมีภาระ
                   ที่ตองถือครองที่ดินซึ่งถือเปนทรัพยสินที่มีสภาพคลองทางการเงินต่ํา (low  liquidity)  หากเปนเชนนั้น

                   การเชาที่ดินจึงไมใชปญหาในเชิงโครงสรางทางเศรษฐกิจเสมอไป (นิพนธ พัวพงศกร,  2517)  แตรูปแบบ

                   การเชาที่ไมเปนธรรมตางหากที่ทําใหเกษตรกรตองอยูในวงเวียนของความยากจน นอกจากนี้ การเชาที่ดิน
                   ยังสงผลใหเกิดปญหาที่ดินเสื่อมโทรมเนื่องจากเกษตรกรขาดแรงจูงใจในการบํารุงรักษาดินอีกดวย

                   (อภิวัฒน รัตนวราหะ, 2558)

                          งานศึกษาดานที่ดินของประเทศไทยมีคอนขางจํากัด สวนมากเปนการวิเคราะหเชิงประวัติศาสตร

                   ในขณะที่การศึกษาที่อางอิงกรอบแนวคิดทางเศรษฐศาสตรและมีวัตถุประสงคหลักเพื่อสรางหลักฐานเชิง

                   ประจักษเพื่อนําไปสูการกําหนดนโยบายนั้นมีจํานวนนอย (อภิวัฒน รัตนวราหะ,  2558) ทั้งนี้ การศึกษา
                   ครั้งนี้จัดอยูในประเภทหลัง เนื่องจากจะมีการนํากรอบแนวคิดทางเศรษฐศาสตรมาประยุกตใชเพื่อตอบ

                   โจทยและประเด็นศึกษาดานการเชาที่ดินในภาคเกษตรของไทย แมวาประเด็นเกี่ยวกับตลาดเชาที่ดินจะมี






                                                             2-3
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17