Page 15 -
P. 15

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว







                   ที่ดิน (Market rental rate) และ T และ T      คือตนทุนทางธุรกรรมของการเชาที่ดินและใหเชาที่ดิน

                   ตามลําดับ  และ MP(A ) + ε  คือมูลคาผลผลิตสวนเพิ่มของการทําการเกษตรดวยการขยายที่ดิน


                   เพิ่มขึ้น 1 หนวย โดยประเมินผลตอบแทน ณ ระดับการถือครองที่ดินของเกษตรกรกอนที่จะเขารวมตลาด
                   เชาที่ดิน และ ε  ~N(0,1) แสดงถึง มูลคาผลผลิตสวนเพิ่มซึ่งครัวเรือนเกษตรสังเกตเห็นแตไมสามารถ

                   สังเกตไดโดยแบบจําลองทางเศรษฐมิติ

                          แนวคิดของการตัดสินใจเขารวมตลาดเชาที่ดินทั้ง 3 รูปแบบ มีลักษณะตรงไปตรงมา ซึ่งมี

                   รายละเอียดดังนี้ ในกรณีการเชาที่ดิน (อสมการบนใน [1]) เกษตรกรตัดสินใจเลือกเชาที่ดินก็ตอเมื่อมูลคา
                   ผลผลิตสวนเพิ่มของการขยายที่ดินทําการเกษตรมากกวาคาเชาที่ดินและตนทุนทางธุรกรรมของการเชา

                   ที่ดิน ในกรณีการทํากินเฉพาะบนที่ดินตนเอง (อสมการกลางใน [1]) เกษตรกรตัดสินใจเลือกทั้งไมเชาที่ดิน

                   และไมใหเชาที่ดินก็ตอเมื่อมูลคาผลผลิตสวนเพิ่มของการขยายที่ดินทําการเกษตรนอยกวาคาเชาที่ดิน แต
                   มูลคาผลผลิตสวนเพิ่มของการขยายที่ดินทําการเกษตรมากกวารายไดสุทธิจากการใหเชาที่ดินซึ่งไดรับใน

                   ฐานะทีเปนเจาของที่ดิน (Landlord) และกรณีการปลอยเชาที่ดิน (อสมการลางใน [1]) เกษตรกรตัดสินใจ

                   เลือกปลอยเชาที่ดินก็ตอเมื่อมูลคาผลผลิตสวนเพิ่มของการขยายที่ดินทําการเกษตรนอยกวารายไดสุทธิ
                   จากการใหเชาที่ดินหลังจากหักตนทุนทางธุรกรรมของการใหเชาที่ดิน


                          ทั้งนี้ การตัดสินใจมีสวนรวมในตลาดเชาที่ดินของครัวเรือนอาจอยูในรูปตัวแปรหุน (dummy
                   variable)  ซึ่งแสดงสถานะครัวเรือนในตลาดเชาที่ดิน (ไดแก ผูเชา ผูปลอยเชา และผูที่ทํากินเฉพาะบน

                   ที่ดินตนเอง) หรืออาจอยูในรูปของขนาดที่ดินที่ครัวเรือนเชาหรือปลอยเชาซึ่งเปนตัวแปรตอเนื่อง

                   (continuous variable) ดังที่แสดงไวใน Chamberlin and Ricker-Gilbert (2016) การตัดสินใจเชาหรือ
                   ใหเชาที่ดินของครัวเรือน i ในจังหวัด j สามารถแสดงไดดังตอไปนี้



                                         ∗
                               R = λA  α , H , V   + δA + u                                            [2]







                   โดย R  คือสถานครัวเรือนในตลาดเชาที่ดินหรือขนาดที่ดินเชา/ปลอยเชาของครัวเรือ ในกรณีที่ R  เปน


                   ตัวแปรตอเนื่องซึ่งแสดงขนาดที่ดินเชาหรือปลอยเชานั้น ถา R > 0 แสดงวาครัวเรือนมีการเชาที่ดินเขา

                   มาทําการเกษตร ถา R < 0 แสดงวาครัวเรือนมีการปลอยเชาที่ดินใหกับผูอื่น และหาก R = 0


                   แสดงวาครัวเรือนไมมีการเชาหรือปลอยเชาที่ดิน ในกรณีที่ R  เปนตัวแปรหุนซึ่งแสดงสถานะของ

                   ครัวเรือนในตลาดเชาที่ดิน กําหนดใหคา R  เปนไปได 3 คา คือ -1, 0, 1 ซึ่งระบุวาครัวเรือนเปนผูปลอย

                   เชา ผูทํากินเฉพาะบนที่ตนเอง และผูเชา ตามลําดับ

                          ขนาดฟารมกอนมีการเชาหรือใหเชาที่ดินแทนดวย A  และขนาดฟารมที่ตองการหรือขนาด

                                                ∗
                   ฟารมที่เหมาะสมที่สุด แทนดวย A  ความสามารถในการผลิตของครัวเรือนแทนดวย α  ในขณะที่ H



                   คือคุณลักษณะดานสังคม เศรษฐกิจ และประชากรศาสตรของครัวเรือน และ V  คือปจจัยภายนอกอื่นๆ ที่

                   สงผลตอการตัดสินใจของครัวเรือนแตไมเกี่ยวของกับลักษณะครัวเรือน และ u  แทนคาความ

                   คลาดเคลื่อนของแบบจําลอง


                                                             3-2
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20