Page 17 -
P. 17

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                   ที่ดินเกษตร มารวมใหขอมูลและรับฟงผลการวิจัยในเบื้องตน เพื่อใหการวิเคราะหบทบาทของตลาดการ

                   เชาที่ดินตอการพัฒนาเศรษฐกิจครัวเรือนจากอดีตจนถึงปจจุบันสามารถฉายภาพไดชัดเจนมากยิ่งขึ้น

                   3.3 แบบจําลองเศรษฐมิติ

                   การศึกษาเชิงประจักษในงานวิจัยชิ้นนี้มีดวยกัน 3 ขั้นตอน ในขั้นแรกเราจําเปนตองประมาณคา

                   ความสามารถในการผลิตของแตละครัวเรือนเนื่องจากปจจัยดังกลาวมีสวนสําคัญตอการตัดสินใจของ

                   เกษตรกรในการเชาหรือใหเชาที่ดินดังแสดงไวใน (1) อยางไรก็ตาม เนื่องจากเราไมสามารถวัด
                   ความสามารถในการผลิตไดโดยตรง ดังนั้นเราจึงจําเปนตองทําการประมาณคาดังกลาวจากฟงกชั่นการ

                   ผลิต (production  function)  โดยใชเทคนิค fixed  effect  ดังที่เสนอไวโดย Jin  and  Jayne  (2013)

                   ฟงกชั่นการผลิตของครัวเรือนiจากหมูบาน jสามารถแสดงไดดังนี้


                          log Q   = β log A   + β log L   + β log K







                                                +β log X   + β V + β T + v                    [3]





                   โดย Q  คือปริมาณผลผลิตทางการเกษตรครัวเรือน i ในจังหวัด j ในป t A  คือขนาดพื้นที่เพาะปลูก


                   L  คือจํานวนแรงงานในครัวเรือนที่ใชในการเพาะปลูก K  คือมูลคาทรัพยสินทางการเกษตร X  คือ



                   เวคเตอรของกลุมตัวแปรซึ่งแสดงปริมาณการใชปจจัยการผลิตอื่นๆ (เชน ปุย แรงงานจาง เมล็ดพันธุ เปน
                   ตน) และเวคเตอรของกลุมตัวแปรซึ่งบงบอกลักษณะจําเพาะของครัวที่คาดวาจะสงผลตอการผลิต เชน
                   อายุ เพศ ระดับการศึกษาของหัวหนาครัวเรือน เปนตน V  คือเวคเตอรของกลุมตัวแปรซึ่งแสดง

                   ความจําเพาะของชุมชนที่คาดวาจะสงผลตอการผลิต (เชน ตัวแปรหุนหมูบาน ปริมาณน้ําฝน ระยะทาง
                   จากแปลงเพาะปลูกไปยังถนน เปนตน) T  คือตัวแปรหุนแสดงปการผลิตซึ่งมีไวเพื่อควบคุมการ

                   เปลี่ยนแปลงดานเทคโนโลยีการผลิตเมื่อเวลาเปลี่ยน คาคงที่ α  เทากับความสามารถในการผลิตซึ่ง

                   สามารถคํานวณไดภายหลังจากการประมาณคาฟงกชั่นการผลิตดวย household fixed-effect model
                   คาพารามิเตอรอื่นๆ ที่ทําการประมาณคาไดแก β      และทายสุด v  คือคาความคลาดเคลื่อนของ

                   แบบจําลอง

                          ในขั้นตอนที่สอง คาพารามิเตอร α  ซึ่งแสดงความสามารถในการผลิตของแตละครัวเรือนจะถูก

                   นํามาใชรวมกับตัวแปรอิสระอื่นๆ ในการอธิบายการตัดสินใจเชาและใหเชาที่ดินของเกษตรกร สมการซึ่ง
                   แทนความสัมพันธดังกลาวสามารถเขียนไดดังนี้


                          R      =  α  +  F +  L +  Z +  V +  T + u         [4]







                   โดย R คือสถานะของครัวเรือนในตลาดเชาที่ดินหรือขนาดที่ดินเชาหรือปลอย ความมีนัยสําคัญทางสถิติ
                   ของคาสัมประสิทธิ์   เปนการทดสอบสมมติฐานที่วาการเชาหรือใหเชาที่ดินเปนการเพิ่มประสิทธิภาพ



                   การผลิต กลาวคือ ถา  > 0 ในกรณีการเชาที่ดินเพิ่มหรือถา  < 0 ในกรณีการปลอยเชาที่ดินของ


                   ครัวเรือนลวนแสดงวาตลาดการเชาที่ดินกอใหเกิดการโอนยายที่ดินจากครัวเรือนที่มีความสามารถในการ


                                                             3-4
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22