Page 14 -
P. 14

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว







                                                           บทที่ 3

                                                        ระเบียบวิธีวิจัย


                   3.1 กรอบแนวคิดการวิจัย

                          กรอบแนวคิดที่นํามาประยุกตใชในการศึกษานี้มาจากงานวิจัยหลายชิ้นที่ศึกษาเกี่ยวกับบทบาท

                   ของตลาดเชาที่ดินตอเศรษฐกิจครัวเรือน เชน Deininger, Jin, and Nagarajan (2008) และ Jin and
                   Deininger  (2009) และ Jin  and  Jayne  (2013) และ Chamberlin  and  Ricker-Gilbert  (2016)

                   งานวิจัยเหลานี้ตางก็มีพื้นฐานมาจากงานของ Skoufias  (1995) ซึ่งมีสมมติฐานวาครัวเรือนสามารถมี

                   อรรถประโยชนสูงสุด (utility  maximization)  ไดจากการใชประโยชนที่ดิน (เชาปลอยเชา และทํากิน
                   เฉพาะบนที่ดินตนเอง) เพื่อใหขนาดฟารมที่แทจริง (actual  farm  size)  กับขนาดฟารมที่ตองการ

                   (desired farm size) มีความแตกตางกันนอยที่สุด เมื่อใดก็ตามที่ขนาดฟารมที่แทจริงเทากับขนาดฟารมที่

                   ตองการถือวาครัวเรือนมีการใชที่ดินใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด แตในความเปนจริงพบวาการเชาหรือใหเชา
                   ที่ดินนั้นมีตนทุนแฝงและตนทุนทางธุรกรรม (transaction cost) ซึ่งสงผลใหสวนตางระหวางขนาดฟารมที่

                   ตองการกับขนาดฟารมที่แทจริงไมเทากับศูนย ขนาดฟารมที่ตองการและการตัดสินใจเชาหรือใหเชาที่ดิน

                   ไมไดขึ้นอยูกับขนาดการถือครองที่ดินเพียงอยางเดียวแตยังขึ้นอยูกับปริมาณทรัพยสินนอกเหนือจากที่ดิน
                   เชน ความสามารถในการผลิต แรงงานในครัวเรือน และคุณลักษณะทางเศรษฐกิจ สังคม และ

                   ประชากรศาสตรของครัวเรือน เปนตน

                          ในการศึกษานี้กําหนดใหการตัดสินใจเขารวมตลาดเชาที่ดินมีอยู 3 รูปแบบ ตามการนิยามของ

                   Jin  and  Jayne  (2013)  คือ การเชาที่ดิน  (Rent-in  regime) การทํากินเฉพาะบนที่ดินตนเองซึ่ง

                   หมายความวาครัวเรือนไมเชาหรือปลอยเชาที่ดิน (Autarky regime) และการปลอยเชาที่ดิน (Rent-out
                   regime) เงื่อนไขในการตัดสินใจเขารวมตลาดเชาที่ดินของครัวเรือนสามารถแสดงไดดังนี้


                                               ∗
                          รูปแบบที่ 1: เชาที่ดิน (A >A ):




                                 MP(A ) + ε  ≥ r + T



                                                              ∗
                          รูปแบบที่ 2: ทํากินเฉพาะบนที่ดินตนเอง (A =A ):




                                 r − T       <  MP(A ) + ε  ≤ r + T                                          [1]



                                                    ∗
                          รูปแบบที่ 3: ปลอยเชาที่ดิน (A <A )



                                 MP(A ) + ε  ≤ r − T


                         ∗
                   โดย A   คือขนาดฟารมที่เหมาะสมที่สุดหรือขนาดฟารมที่ไดดุลยภาพของครัวเรือน i  ในจังหวัด j


                   (Optimal  operational  land  size) A   คือขนาดที่ดินถือครองของครัวเรือนเกษตร (household's

                   land endowment) ซึ่งก็คือขนาดฟารมกอนมีการเชาหรือใหเชาที่ดิน   คืออัตราคาเชาที่ดินในตลาดเชา
                                                             3-1
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19