Page 19 -
P. 19

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว







                                                           บทที่ 4
                                    ลักษณะทางสังคม เศรษฐกิจ และการใชที่ดินของครัวเรือนเกษตรไทย


                                                จากฐานขอมูล Townsend Thai Project


                          เนื้อหาในสวนนี้จะกลาวถึงการเปลี่ยนแปลงทางโครงสรางครัวเรือนเกษตรของไทยในมิติดาน

                   สังคมและเศรษฐกิจ ขอมูลที่ใชมาจากฐานขอมูลของ Townsend  Thai  Project ซึ่งมีการเก็บขอมูลดาน
                   เศรษฐกิจ การเงิน และสังคม ของครัวเรือนในเขตเมืองเล็กและในเขตชนบทบริเวณพื้นที่ภาคกลางและ

                   ภาคอีสาน ซึ่งประกอบดวยตัวอยางครัวเรือนที่ประกอบอาชีพทางเกษตรและไมใชการเกษตร แตเนื่องจาก

                   งานวิจัยนี้ตองการศึกษาเฉพาะครัวเรือนเกษตร ดังนั้นกลุมตัวอยางที่นํามาใชศึกษาจะเปนครัวเรือนที่มีการ
                   ทําเกษตรกรรมตอเนื่องทุกปตั้งแตป ค.ศ.2000  ถึงป ค.ศ.2013 ในพื้นที่ 4  จังหวัด ไดแก ลพบุรี

                   ฉะเชิงเทรา บุรีรัมย และศรีสะเกษ รวมทั้งสิ้นจํานวน 384 ครัวเรือน เนื้อหาในสวนนี้จะกลาวถึงลักษณะ

                   ทั่วไปของกลุมครัวเรือนตัวอยาง โดยยังไมไดเนนเปรียบเทียบความแตกตางระหวางครัวเรือนตาม
                   สถานะการเชาเทาใดนัก แตตองการนําเสนอขอมูลครัวเรือนที่นาสนใจซึ่งพบไดจากการใชฐานขอมูล

                   ครัวเรือนแบบตอเนื่องของ Townsend  Thai  Project  โดยที่ขอมูลบางสวนจะถูกนํามาประกอบการ

                   วิเคราะหในแบบจําลองเศรษฐมิติ ในทางตรงกันขาม เนื้อในบทที่ 5 จะเปรียบเทียบความแตกตางระหวาง
                   ครัวเรือน 3 กลุม ไดแก ครัวเรือนที่เปนผูเชาที่ดิน ครัวเรือนผูใหเชาที่ดิน และครัวเรือนที่ทําเกษตรเฉพาะ

                   บนที่ดินที่ตนเองเปนเจาของ ซึ่งจะพบวาครัวเรือนทั้งสามกลุมนี้มีความแตกตางกันอยางชัดเจนในหลายๆ

                   มิติ

                          เนื้อหาในบทนี้แบงเปน 2 สวนหลัก สวนแรกจะกลาวถึงสภาพทั่วไปของครัวเรือนเกษตรไทยซึ่ง

                   ประกอบดวย สมาชิกในครัวเรือน รายไดและสินทรัพยทางการเกษตร ที่ดินถือครองและที่ดินเกษตร การ
                   ใชประโยชนที่ดินเพื่อวัตถุประสงคทางการเกษตร เอกสารสิทธิ์การถือครองที่ดิน แหลงที่มาของที่ดินแปลง

                   ใหม ในขณะที่สวนที่สองจะกลาวถึงการเชาที่ดินเพื่อการเกษตรของครัวเรือน โดยชี้ใหเห็นถึงสถานะการ

                   เชาที่ดินเพื่อทําการเกษตร อิทธิพลของราคาสินคาเกษตรตอการขยายขนาดฟารม และความตองการขยาย
                   ขนาดฟารมของครัวเรือน


                   4.1 สภาพทั่วไปของครัวเรือนเกษตรไทย

                   4.1.1 สมาชิกในครัวเรือน


                          ครัวเรือนเกษตรของไทยมีขนาดเล็กลงเมื่อเทียบกับในอดีตในขณะที่บทบาทที่มากขึ้นของเพศ
                   หญิงในฐานะหัวหนาครัวเรือนและอายุเฉลี่ยของหัวหนาครัวเรือนที่สูงขึ้นอาจสงผลตอประสิทธิภาพการ

                   ผลิตของภาคเกษตรในอนาคต จากตาราง 4.1 จํานวนสมาชิกในครัวเรือนและจํานวนสมาชิกในครัวเรือน

                   เทียบเทาผูใหญลดลงอยางตอเนื่องเรื่อยมา เชนในป ค.ศ.2013 จํานวนสมาชิกในครัวเรือนอยูที่4.04คนตอ
                   ครัวเรือน ลดลง 0.84 คน เมื่อเทียบกับป ค.ศ.2000 ซึ่งอยูที่ 4.88 คนตอครัวเรือน สําหรับจํานวนสมาชิก







                                                             4-1
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24