Page 23 -
P. 23

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                   เปนตน) ก็เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องทุกป ในป ค.ศ.2000  สัดสวนดังกลาวเทากับรอยละ 73.38  จากนั้นเพิ่ม

                   ขึ้นมาอยูที่รอยละ 94.75 ในป ค.ศ.2013 แสดงใหเห็นถึงบทบาทของธนาคารพาณิชยเอกชนและธนาคาร
                   พาณิชยที่อยูในกํากับของรัฐบาล เชน ธนาคารออมสิน ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร ใน

                   การจัดหาเงินทุนใหกับครัวเรือนในชนบทที่ชวยแบงเบาภาระดานดอกเบี้ยเงินกูซึ่งต่ํากวาดอกเบี้ยนอก

                   ระบบ เกษตรกรสามารถเขาถึงแหลงเงินกูในระบบไดมากขึ้น ซึ่งจะเปนการเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต
                   และรายไดครัวเรือนหากเงินกูดังกลาวถูกนําไปใชในการลงทุนในกระบวนการผลิต ในทางตรงกันขาม

                   เกษตรกรบางรายอาจมีการเชาที่ดินหรือนําที่ดินที่ตนเองถือครองไปใชบังหนาเพื่อหวังนําเงินกูไปใช

                   ประโยชนเพื่อวัตถุประสงคอื่นนอกเหนือจากเพื่อการเกษตรกรรม

                   ตาราง 4.4 การเขาถึงแหลงสินเชื่อของครัวเรือน

                                                          2000       2003      2007       2010      2013

                   ครัวเรือนที่ไดรับเงินกู            84.38%  89.58%  90.10%  88.80%  85.16%
                   ครัวเรือนที่ไดรับเงินกู            73.38%  75.32%  79.74%  86.85%  94.75%

                   จากแหลงสินเชื่อในระบบ

                   ที่มา: จากการคํานวนของผูวิจัยจากฐานขอมูล Townsend Thai Project (2013)

                   4.1.3 ที่ดินถือครองและที่ดินเกษตร


                          แมวาขนาดที่ดินถือครอง (ที่ดินที่ตนเปนเจาของ) และขนาดที่ดินที่ใชทําการเกษตรของครัวเรือน
                   ลดลงอยางตอเนื่อง แตสัดสวนการทําเกษตรบนที่ดินที่ตนเองถือครองมีจํานวนมากขึ้น จากตาราง4.5

                   พื้นที่ถือครองของครัวเรือนลดลงเรื่อยๆ จาก 21.63  ไร ในป ค.ศ.2000 มาอยูที่ 20.66  ไรตอ ในป ค.ศ.

                   2013  หรือลดลงประมาณ 0.97ไรตอครัวเรือน (หรือรอยละ 4.48)  เมื่อพิจารณาจากการใชประโยชน
                   พบวา ครัวเรือนมีการใชที่ดินที่ตนเองถือครองอยูเพื่อทําเกษตรเพิ่มขึ้นและลดการใชที่ดินเพื่อประโยชน

                   อยางอื่นๆ (เชน ปลอยเชา) ดังจะเห็นไดจากขนาดที่ดินถือครองที่ใชทําเกษตรนั้นเพิ่มขึ้นจากเดิม 18.40 ไร

                   ในป ค.ศ.2000 มาเทากับ 19.35  ไร ในป ค.ศ.2013 ในชวงเวลาเดียวกัน ขนาดที่ดินถือครองที่ถูกใชเพื่อ
                   ประโยชนอื่นๆ มีแนวโนมลดลงมาโดยตลอด โดยลดจาก 3.23 ไร ลดลงมาอยูที่ 1.31 ไร


                   ตาราง 4.5 ขนาดเนื้อที่ถือครองและเนื้อที่ทําการเกษตรเฉลี่ยตอครัวเรือน
                                                                  2000     2003     2007     2010  2013

                   เนื้อที่ถือครอง/เปนเจาของ (ไร)              21.63  20.00  21.19  21.06  20.66

                      - ใชทําการเกษตร (ไร)                      18.40  15.31  18.83  19.47  19.35
                      - ปลอยใหผูอื่นเชาและอื่นๆ (ไร)          3.23     4.69    2.36     1.59    1.31

                   เนื้อที่ทําการเกษตรทั้งหมด (ไร)*              32.29  33.27  29.25  28.73  27.77

                   เนื้อที่ถือครองตอจํานวนสมาชิกครัวเรือน (ไร/คน)   4.44   4.30   4.85     5.01    5.12

                   เนื้อที่ทําเกษตรตอจํานวนสมาชิกครัวเรือน (ไร/คน)   6.62   7.14   6.70    6.83    6.88






                                                             4-5
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28