Page 25 -
P. 25

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                   ตาราง 4.6 เนื้อที่ถือครองเปนเจาของและเนื้อที่ทําการเกษตรเฉลี่ยตอครัวเรือนจําแนกรายจังหวัด

                                                              2000     2003      2007      2010     2013
                    ขนาดเนื้อที่ถือครองเปนเจาของ (ไร):

                         ฉะเชิงเทรา                          22.64     22.49    19.49     18.07     18.35

                         บุรีรัมย                           22.55     19.23    22.59     24.53     23.57
                         ลพบุรี                              37.50     26.44    30.71     30.09     28.87

                         ศรีสะเกษ                            14.33     16.57    17.74     16.77     16.70

                         เฉลี่ยทั้ง 4 จังหวัด                21.63     20.00    21.19     21.06     20.66

                    ขนาดเนื้อที่ทําการเกษตร (ไร):
                         ฉะเชิงเทรา                          43.09     44.59    37.32     35.42     34.69

                         บุรีรัมย                           31.20     30.17    26.82     27.24     26.21

                         ลพบุรี                              51.20     54.94    48.88     48.04     46.30

                         ศรีสะเกษ                            18.51     20.00    18.52     18.26     17.47
                         เฉลี่ยทั้ง 4 จังหวัด                32.29     33.27    29.25     28.73     27.77

                   ที่มา: จากการคํานวนของผูวิจัยจากฐานขอมูล Townsend Thai Project (2013)

                          ขอสังเกตที่นาสนใจคือ ครัวเรือนในภาคกลาง (ฉะเชิงเทราและลพบุรี) ทําการเกษตรบนที่ดินของ

                   ผูอื่น (เชาหรือทําฟรี) ในสัดสวนสูงมาก โดยเฉพาะในกรณีจังหวัดฉะเชิงเทรานั้น พบวา เกือบครึ่งของพื้นที่

                   ทําการเกษตรของครัวเรือนเปนที่ดินของผูอื่นและแทบไมเปลี่ยนแปลงเลยในชวงสิบกวาปที่ผานมานี้
                   (ตาราง 4.7) ในทางตรงกันขาม เกษตรกรสวนมากในภาคอีสาน (บุรีรัมยและศรีสะเกษ) ยังคงเนนการทํา

                   เกษตรบนที่ดินของตนเอง โดยที่สัดสวนการทําเกษตรบนที่ดินคนอื่นมีแนวโนมลดลงอยางตอเนื่องอยาง

                   เห็นไดชัด เชน ในกรณีจังหวัดศรีสะเกษ สัดสวนการทําเกษตรบนที่ดินผูอื่นตอเนื้อที่ทําการเกษตรทั้งหมด
                   ลดลงจากรอยละ 22.58 ในป ค.ศ.2000 เหลือเพียงรอยละ 4.41 ในป ค.ศ.2013 ซึ่งแทบจะเรียกไดวา

                   เกษตรกรกลุมนี้แทบไมมีการทําเกษตรบนที่ดินผูอื่นเลยในปจจุบัน อยางไรก็ตาม ในภาพรวม ทุกจังหวัดมี

                   แนวโนมเนื้อที่ทําการเกษตรลดลง โดยเฉพาะจังหวัด ฉะเชิงเทรา บุรีรัมย และลพบุรี สําหรับเนื้อที่ถือครอง
                   ในรายจังหวัด พบวา ในป 2013 ครัวเรือนเกษตรของจังหวัดลพบุรีมีเนื้อที่ถือครองทั้งหมดสูงสุด รองลงมา

                   คือ บุรีรัมย ฉะเชิงเทรา และศรีสะเกษ ตามลําดับ

                          เมื่อพิจารณาการเปลี่ยนแปลงของที่ดินเกษตรตามประเภทการถือครอง พบวา การทําเกษตรบน

                   ที่ดินของตนเองมีสัดสวนสูงที่สุดและเพิ่มขึ้น ในทางตรงกันขาม สัดสวนการเชาที่ดินลดลง (ตาราง4.8

                   และ 4.9) สัดสวนพื้นที่ซึ่งเกษตรกรเปนเจาของเองตอพื้นที่รวม เพิ่มขึ้นจาก รอยละ 56.97 ในป ค.ศ.
                   2000 มาอยูที่ รอยละ 69.66 ในป ค.ศ.2013 รองลงมาเปนการทําเกษตรกรรมบนที่ดินเชาโดยจายคาเชา

                   เปนเงิน การทําเกษตรกรรมบนที่ดินเชาโดยจายคาเชาเปนสวนของผลผลิตที่เก็บเกี่ยวไดการทํา








                                                             4-7
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30