Page 24 -
P. 24

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                   ที่มา: จากการคํานวนของผูวิจัยจากฐานขอมูล Townsend Thai Project (2013)

                   หมายเหตุ *รวมพื้นที่ถือครองของตนเองและที่ดินเชาจากผูอื่น

                          เปนที่นาสังเกตวา โดยเฉลี่ยแลวขนาดพื้นที่ทําการเกษตรของครัวเรือนจะสูงกวาขนาดพื้นที่ถือ

                   ครอง สาเหตุที่เปนเชนนี้เพราะครัวเรือนมีการนําที่ดินที่ตนเองไมไดครอบครองมาใชทําการเกษตร
                   แหลงที่มาอาจประกอบดวยการเชา ที่ดินรกราง ที่ดินที่ใชโดยไมตองเสียคาใชจาย (ฟรี) เปนตน อยางไรก็

                   ตาม เมื่อพิจารณาที่ดินเกษตรที่ครัวเรือนนําเขามาเพิ่มจะพบวามีจํานวนลดลงเรื่อยๆ ยกตัวอยาง เชน ในป

                   ค.ศ.2000 ที่ดินทําการเกษตรทั้งหมดตอครัวเรือนเทากับ 32.29  ไร ซึ่งสูงกวาขนาดที่ดินถือครอง 10.76
                   ไร (รอยละ 33.32 ของเนื้อที่ทําเกษตร) แตในป ค.ศ. 2013 สวนตางดังกลาวลดลงเหลือเพียง 7.11 ไร

                   (รอยละ 25.60 ของเนื้อที่ทําเกษตร)

                          ขอเท็จจริงในขางตนกอใหเกิดคําถามวาเกิดอะไรขึ้นในชวงสิบกวาปที่ผานมา เหตุใดในขณะที่

                   ขนาดเนื้อที่ทําการเกษตรโดยรวมลดลง แตสัดสวนการทําเกษตรบนที่ดินตนเองกลับเพิ่มขึ้น มีความเปนไป

                   ไดอยางนอย 3 กรณี กรณีแรกระดับราคาสินคาเกษตรที่สูงในชวงเวลาดังกลาวจูงใจใหเกษตรกรขยาย
                   พื้นที่ทําการเกษตร โดยเนนการเพาะปลูกบนที่ดินตนเองเพื่อใหไดสิทธิ์ในการรับความชวยเหลือจากรัฐ

                   สงผลใหการทําเกษตรบนที่ดินเชาและที่ดินเกษตรกรรมในภาพรวมลดลง กรณีที่สอง เปนไปไดวาแรง

                   กดดันจากความตองการใชที่ดินของสาขาอื่นๆ (เชน อุตสาหกรรม ที่อยูอาศัย ปาไม พาณิชยกรรม การ
                   ขนสงและบริการ เปนตน) สงผลใหที่ดินเพื่อทําการเกษตรในภาพรวมมีจํานวนลดลงเกษตรกรจําเปนตอง

                   ชดเชยที่ดินสวนที่ลดลงนี้โดยการนําที่ดินถือครองซึ่งแตเดิมอาจจะปลอยใหผูอื่นเชาหรือใหญาติใช

                   ประโยชนแบบฟรีๆ กลับมาใชทําการเกษตรดวยตนเอง และกรณีที่สาม ขนาดครัวเรือนที่เล็กลง อายุของ
                   หัวหนาครัวเรือนที่สูงขึ้น และปญหาการขาดแคลนแรงงานสงผลใหเกษตรกรจําเปนปรับกระบวนการผลิต

                   ใหสอดคลองกับขอจํากัดดังกลาว เกษตรกรลดการเชาที่ดินซึ่งอาจอยูกระจัดกระจายและไกลจากที่พัก

                   อาศัย และหันกลับมาทําเกษตรบนที่ดินตนเองมากขึ้น สงผลใหขนาดที่ดินเกษตรในภาพรวมลดลงแตการ
                   ทําเกษตรบนที่ดินตนเองมีการขยายตัว


                          ในภาพรวม เนื้อที่ทําการเกษตรของครัวเรือนมีแนวโนมลดลงทุกจังหวัดโดยการเปลี่ยนแปลงในแง
                   ของเนื้อที่ถือครองเปนเจาของและเนื้อที่ทําการเกษตรของครัวเรือนในแตละจังหวัดมีความแตกตางกัน

                   อยางชัดเจน (ตาราง 4.6) จังหวัดลพบุรีและฉะเชิงเทรามีขนาดพื้นที่ทําการเกษตรเฉลี่ยตอครัวเรือนสูง

                   เปนอันดับหนึ่งและสอง ตามลําดับ ระบบชลประทานที่ทั่วถึงของภาคกลางทําใหเกษตรกรสามารถปลูกพืช
                   ไดมากกวาหนึ่งรอบตอป ซึ่งคุมคากับการลงทุนนําเครื่องจักรมาใชในการผลิตและเก็บเกี่ยว ดังนั้นพื้นที่ทํา

                   การเกษตรของครัวเรือนในภูมิภาคนี้จึงมีขนาดใหญกวาเมื่อเทียบกับภาคอีสานซึ่งขาดแคลนระบบ

                   ชลประทาน











                                                             4-6
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29