Page 29 -
P. 29

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว




                   4.1.4 การใชประโยชนที่ดินเพื่อวัตถุประสงคทางการเกษตร

                   การลดลงของพื้นที่ทําการเกษตรเกิดจากการลดพื้นที่ปลูกขาวเปนหลัก ในขณะที่พื้นที่เพาะปลูกไมผลและ

                   ไมยืนตนมีการขยายตัวอยางกาวกระโดดในบางชวงป จาก ตาราง 4.10 ในป ค.ศ.2013 จํานวนที่ดิน

                   เกษตรเทากับ 10,664.47 ไร ลดลงจากเดิม 12,398.78  ไร ในป ค.ศ.2000 หรือคิดเปนอัตราการลดลง
                   รอยละ 13.99 พื้นที่เพาะปลูกขาวมีแนวโนมลดลงอยางตอเนื่องแมวารัฐบาลจะมีการแทรกแซงตลาดขาว

                   เพื่อชวยเหลือชาวนาก็ตาม ทั้งในรูปโครงการจํานําขาวและโครงการประกันรายไดชาวนาโดยในป ค.ศ.

                   2013 พื้นที่นาขาวเทากับ 5,724.46  ไร ลดลงจากเดิม 6,690.15 ไร ในป ค.ศ.2000 อยางไรก็ตาม กลับ
                   พบวาจํานวนแปลงปลูกขาวลดลงเพียงเล็กนอยจาก 538 แปลง มาเทากับ 526 แปลง (ตาราง 4.11)

                   แสดงใหเห็นวาเกษตรกรมีความคลองตัวในการปรับเปลี่ยนขนาดพื้นที่ปลูกขาวในแตละแปลงใหเหมาะสม

                   กับสภาวะตลาดในชวงเวลานั้นๆ

                          การเปลี่ยนแปลงแบบกาวกระโดดของพื้นที่ปลูกพืชไรและไมผลไมยืนตนคาดวาจะไดรับอิทธิพล

                   จากราคาสินคาในตลาดโลกและจากการแทรกแซงราคาสินคาเกษตรของรัฐบาล ในกรณีพืชไร พบวา พื้นที่
                   เพาะปลูกเพิ่มขึ้นอยางกาวกระโดดในป ค.ศ.2003 เทียบกับป ค.ศ.2000 โดยเพิ่มจาก 3,177.50 ไร มา

                   เทากับ 4,174.38  ไร คิดเปนอัตรการเติบโตสูงถึงรอยละ 31.37 การเปลี่ยนแปลงดังกลาวสอดคลองกับ

                   ราคามันสําปะหลังที่ปรับตัวสูงขึ้นถึงรอยละ 45.41 ในชวงเวลาเดียวกัน ซึ่งเปนชวงที่ประเทศจีนเพิ่มการ
                   นําเขามันสําปะหลังเสนจากไทยเพื่อทดแทนขาวโพดในอุตสาหกรรมเอทานอลในประเทศ อยางไรก็ตาม

                   หลังจากนั้นไมนานจํานวนพื้นที่ปลูกพืชไรก็ปรับตัวลดลงมาที่ระดับเดิม ในกรณีไมยืนตน พบวา ในป ค.ศ.

                   2007 พื้นที่ปลูกไมยืนตนเทากับ 1,189.25 ไร สูงกวาป ค.ศ.2000 ซึ่งมีพื้นที่เพียง 492.84 ไร การเพิ่มขึ้น
                   ดังกลาวคาดวามีสาเหตุจากการเพิ่มพื้นที่ปลูกยางพาราของเกษตรกรเพราะในป ค.ศ.2007 ราคายางแผน

                   ดิบรมควันชั้น 3 เพิ่มขึ้นสูงถึงรอยละ 75.36 เทียบกับป ค.ศ.2000 หลังจากนั้นพื้นที่ปลูกไมยืนตนลดลง

                   เล็กนอยซึ่งสะทอนวาการปรับเปลี่ยนพื้นที่เพาะปลูกพืชประเภทนี้มีความยืดหยุนต่ําหรือเปลี่ยนแปลงได
                   ยากเมื่อไดปลูกแลวนั่นเอง


                          พื้นที่เลี้ยงสัตวและประมง (เลี้ยงกุงหรือปลา) คิดเปนสัดสวนที่นอยเมื่อเทียบกับกิจกรรมประเภท
                   อื่นและลดจํานวนลงทุกป พื้นที่เลี้ยงสัตวเพิ่มขึ้นสูงสุดในป ค.ศ.2007 จากนั้นปรับตัวลดลง ขณะที่พื้นที่

                   ประมงลดลงอยางตอเนื่องทุกป อีกขอสังเกตที่นาสนใจคือการหายไปของพื้นที่ทําเกษตรประเภทอื่นๆ ใน

                   เวลาไมถึงสิบป กลาวคือ ในป ค.ศ.2000 การทําเกษตรอื่นๆ มีสัดสวนสูงถึงรอยละ 12.48 ของพื้นที่
                   ทั้งหมด แตภายในป ค.ศ.2013 สัดสวนดังกลาวลดลงเหลือเพียงรอยละ 0.15 เปนไปไดวาเกษตรกรมีการ

                   นําที่ดินประเภทนี้เกือบทั้งหมดมาใชเพาะปลูกพืชไร (มันสําปะหลัง) และไมยืนตน (ยางพารา) หรืออาจ

                   เปนไปไดวาที่ดินประเภทนี้ถูกนําไปใชประโยชนนอกภาคการเกษตร

                          จํานวนแปลงที่ดินสําหรับที่อยูอาศัยเพิ่มขึ้นเกือบสองเทา ในขณะที่ขนาดพื้นที่เพิ่มขึ้นเล็กนอย

                   แสดงใหเห็นวาครัวเรือนเกษตรมีขนาดเล็กลง โดยที่สมาชิกในครัวเรือนเมื่อแยกตัวออกไปสรางครอบครัว







                                                            4-11
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34